fbpx

Interviews

18 Mar 2024

มองคุณค่าของการดูแลรักษาผู้ป่วยมะเร็งผ่าน ‘Patient’s Journey’ เพื่อเข้าใจจุดแข็งและจุดอ่อนของนโยบาย ‘Cancer Anywhere’ และ ‘มะเร็งครบวงจร’: บวรศม ลีระพันธ์ และ ภาณุวิชญ์ แก้วกำจรชัย

101 คุยกับ รศ.นพ.บวรศม ลีระพันธ์ และ นพ.ภาณุวิชญ์ แก้วกำจรชัย เพื่อทำความเข้าใจสถานการณ์โรคมะเร็งในประเทศไทย รวมถึงจุดแข็งและจุดอ่อนของนโยบาย ‘Cancer Anywhere’

สมคิด พุทธศรี

18 Mar 2024

Health

22 Jun 2023

ตอบโจทย์หมอลาออกในสถานการณ์ลิงแก้แห: Dos and Don’ts จากมุมมองการคิดเชิงระบบ

นพ.บวรศม ลีระพันธ์ ชวนมองข้อเสนอแนะต่างๆ ต่อการแก้ไขปัญหาแพทย์ลาออก พร้อมเสนอการแก้ไขปัญหาจากมุมมองการคิดเชิงระบบ

บวรศม ลีระพันธ์

22 Jun 2023

Public Policy

8 May 2023

Voter’s Guide: วิเคราะห์นโยบายสุขภาพของพรรคการเมืองในการเลือกตั้ง 2566

นพ.บวรศม ลีระพันธ์ วิเคราะห์จุดอ่อนจุดแข็งของข้อเสนอนโยบายสุขภาพจากแต่ละพรรคการเมือง โดยใช้การคิดเชิงระบบ (systems thinking)

บวรศม ลีระพันธ์

8 May 2023

Politics

24 Feb 2023

ก้าวต่อไปของนโยบายสาธารณะในโลกที่ไม่มีข้อมูลใดสมบูรณ์: ถอดบทเรียนโควิด-19 ผ่านกระบวนการคิดเชิงระบบ

ถอดบทเรียนจากการจัดการโควิด-19 ผ่านกระบวนการคิดเชิงระบบ เพื่อรับมือกับวิกฤตใหม่ที่อาจเกิดขึ้นในโลกที่ไม่อาจตัดสินใจด้วยข้อมูลสมบูรณ์

กองบรรณาธิการ

24 Feb 2023

Politics

1 Jul 2022

กลุ่มเสี่ยงต้องระวังเป็นพิเศษ: เมื่อโอมิครอน (BA.4-BA.5) กลับมา และโควิดจะถูกปรับเป็นโรคประจำถิ่น

การระบาดของโอมิครอน BA.4-BA.5 และการเดินหน้าสู่โรคประจำถิ่นช่วยให้คนส่วนใหญ่ไปต่อได้ แต่กลุ่มเสี่ยงจะต้องระวังตัวเป็นพิเศษ โดยเฉพาะผู้สูงอายุ ผู้มีโรคประจำตัวที่ยังไม่ได้ฉีดวัคซีนเข็มกระตุ้น

ฉัตร คำแสง

1 Jul 2022

Life & Culture

21 Mar 2022

ถอดบทเรียน 2 ปี โควิด-19 ทางไปต่อของนโยบายสาธารณะกลางวิกฤตระดับชาติ กับ บวรศม ลีระพันธ์

101 ชวน รศ.นพ.บวรศม ลีระพันธ์ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล เปิดงานวิจัยใหม่ล่าสุดว่าด้วย การถอดบทเรียนการทำนโยบายสาธารณะในยุคการควบคุมโควิด-19 โดยใช้ข้อมูลจริงและวิธีคิดเชิงระบบ

กองบรรณาธิการ

21 Mar 2022

Media

12 Mar 2022

101 One-on-One Ep.258 “2 ปีโควิด-19 รัฐเรียนรู้อะไรบ้าง” กับ บวรศม ลีระพันธ์

101 ชวน รศ.นพ.บวรศม ลีระพันธ์ คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล เปิดงานวิจัยใหม่ล่าสุดว่าด้วย การถอดบทเรียนการทำนโยบายสาธารณะในยุคการควบคุมโควิด-19 โดยใช้ข้อมูลจริงและวิธีคิดเชิงระบบ

101 One-on-One

12 Mar 2022

Life & Culture

7 Jun 2021

คลี่ปม ‘เมือง’ จากโควิด พลิกวิกฤตสร้างเมืองแห่งอนาคต

101 ตั้งวงคุยรสเข้มก่อนนอน มองปัญหาในเมืองท่ามกลางโควิด-19 และค้นหาหนทางพลิกวิกฤตโรคระบาดให้กลายเป็นโอกาสวาดฝันถึงเมืองที่ดีกว่าเดิม ผ่านศาสตร์ทั้ง 4 แขนงและผู้เชี่ยวชาญทั้ง 4 คน

กองบรรณาธิการ

7 Jun 2021

Interviews

1 Aug 2018

ลดคนล้นโรงพยาบาล ด้วยความคิดเชิงระบบ กับ บวรศม ลีระพันธ์

ลดคนล้นโรงพยาบาล เป็นเรื่องจริงที่เกิดขึ้นได้ เปิดวิสัยทัศน์ ผศ.นพ.บวรศม ลีระพันธ์ ผู้ใช้การคิดเชิงระบบ (systems thinking) มาวิเคราะห์ปัญหาคนล้นโรงพยาบาล เผยจุดอ่อนของหลักประกันสุขภาพ และชวนเตรียมพร้อมเผชิญ ‘สึนามิสิผู้สูงอายุ’ อนาคตที่สาธารณสุขไทยควรรุกมากกว่ารับ

ชลธร วงศ์รัศมี

1 Aug 2018

RECOMMENDED

Social Issues

17 Feb 2017

อ่านข่าวออนไลน์จากสำนักไหน ใครจำได้บ้าง

แน่นอน คนเราอ่านข่าวออนไลน์กันมากขึ้น แต่เราจำได้หรือเปล่าว่าข่าวไหนมาจากสำนักไหน ใครวิเคราะห์อะไรบ้าง ได้ตามข่าวไหนต่อเป็นพิเศษหรือเปล่า วิธีอ่านข่าวออนไลน์ของเราเป็นอย่างไร

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Social Issues

17 Feb 2017

น้ำแข็งขั้วโลกหดตัวต่ำสุดในประวัติศาสตร์ ไม่ใช่แค่ขั้วเดียว-แต่ทั้งสองขั้วเลย!

ขั้วโลกเหนือเป็นฤดูหนาว ขั้วโลกใต้เป็นฤดูร้อน แต่ที่เหมือนกันก็คือ ไม่ว่าจะหนาวจะร้อน ทั้งสองขั้วโลกต่างมีอาการ ‘น้ำแข็งหดตัว’ จนเกิดสถิติใหม่อย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อนด้วยกันทั้งคู่!

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Life & Culture

20 Feb 2017

พื้นที่สาธารณะ พื้นที่ของใครกันแน่?

ดัชนีชี้วัดความสุขประชากรในเมืองขึ้นอยู่กับอะไรบ้าง ห้างสวยแอร์เย็น รถไฟฟ้าไร้โฆษณา หรือจริงๆ มนุษย์เมืองล้วนต้องการพื้นที่สาธารณะที่เป็น ‘สาธารณะ’ จริงๆ

เทพพิทักษ์ มณีพงษ์

20 Feb 2017

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save