fbpx

Life & Culture

4 Dec 2022

‘Soft power’ ไทย: ฝันลมๆ แล้งๆ ของคนใช้แต่อำนาจ

อะไรทำให้ ‘ซอฟต์พาวเวอร์’ แบบไทยๆ ไม่ไปไหนไกลสักที นิติ ภวัครพันธุ์ ชวนสำรวจกลไกในการสร้างซอฟต์พาวเวอร์ที่ผูกโยงกับสังคม การเมือง และเสรีภาพอย่างแยกออกไม่ขาด -และอาจเป็นเหตุผลว่าทำไมซอฟต์พาวเวอร์ในไทยจึงเป็นได้เพียงความฝันที่เรายังไปไม่ถึงสักที

นิติ ภวัครพันธุ์

4 Dec 2022

Life & Culture

7 Nov 2022

เรื่องเล่าริมโขง ความทรงจำที่ไร้ ‘กรุงเทพฯ’

นิติ ภวัครพันธุ์ เขียนเล่าถึงประวัติศาสตร์ริมฝั่งโขง กับเรื่องเล่าของสงคราม, ความเป็นรัฐชาติ, คอมมิวนิสต์ ฯลฯ อันก่อให้เกิดเป็นความทรงจำพื้นถิ่นซึ่งไม่ปรากฏในที่แห่งอื่น

นิติ ภวัครพันธุ์

7 Nov 2022

World

7 Oct 2022

‘อดอยากปากจมน้ำ’ ชีวิตในอนาคตอันใกล้ (ฉาก 2)

ในโลกที่เต็มไปด้วยความผันผวน ปัญหาการปรับตัวเพื่อรับมือกับภาวะน้ำท่วมเมือง รวมทั้งภัยแล้งและไฟป่า ก็เป็นหนึ่งในปัญหาที่รัฐบาลหลายประเทศให้ความสำคัญ หนึ่งในนั้นคือรัฐบาลบังคลาเทศและเปรู ที่ใช้แปลงปลูกผักลอยน้ำและแนวปะการังหอยนางรมรับมือปัญหา!

นิติ ภวัครพันธุ์

7 Oct 2022

World

7 Sep 2022

‘อดอยากปากจมน้ำ’ ชีวิตในอนาคตอันใกล้ (ฉาก 1)

นิติ ภวัครพันธุ์ เล่าถึงการแก้ปัญหาเมืองจมน้ำอย่างยั่งยืนของเนเธอร์แลนด์ ไม่ว่าจะเป็นการสร้างประตูกั้นน้ำขนาดยักษ์, การออกแบบบ้านเรือน ไปจนถึงการคิดค้นเทคโนโลยีใหม่ๆ เพื่อรองรับปัญหาที่อาจะเกิดขึ้นในอนาคต

นิติ ภวัครพันธุ์

7 Sep 2022

Life & Culture

10 Aug 2022

สงครามเย็นบนปลายลิ้น ความรุนแรงที่กลืนกินได้

ท่ามกลางความคุกรุ่นและความขัดแย้ง สงครามจะสร้างอาหารแบบใดขึ้นมาบ้าง นิติ ภวัครพันธุ์ ชวนสำรวจเมนูอาหารต่างๆ ที่ถือกำเนิดขึ้นมาภายใต้บริบทสงครมเย็นระหว่างสหรัฐฯ และเวียดนาม ที่ในเวลาต่อมาก็กลายเป็นอาหารที่หลายคนรู้จักกันดีและแสนจะคุ้นเคย

นิติ ภวัครพันธุ์

10 Aug 2022

Life & Culture

14 Jul 2022

“ความตายคือการเดินทางของทั้งคนตายและคนที่ยังอยู่” นิติ ภวัครพันธุ์

คุยกับนิติ ภวัครพันธุ์ ว่าด้วยเรื่องพิธีกรรมการส่งคนตายในมุมนักมานุษยวิทยา พิธีกรรมของความตายมีความหมายแค่ไหน คุณค่าของการตายและการมีชีวิตอยู่ต่างกันอย่างไร

ปาณิส โพธิ์ศรีวังชัย

14 Jul 2022

Life & Culture

14 Jul 2022

ลาว-เวียด-ไต: ‘เนรมิตาหาร’ ในแดนลาว

นิติ ภวัครพันธุ์ เขียนเล่าประสบการณ์การได้ชิมอาหารลาวในนครเวียงจันทน์และหลวงพระบาง อันเต็มไปด้วยประวัติศาสตร์และความหลากหลายทางวัฒนธรรม ที่สะท้อนผ่านอาหารด้วย

นิติ ภวัครพันธุ์

14 Jul 2022

Life & Culture

7 Mar 2022

สุนทรียาหารริมโขง: สำรับเวียด

นิติ ภวัครพันธุ์ เขียนถึงอาหารเวียดนามและวัฒนธรรมการกินของผู้คนริมลำน้ำโขง ที่ผูกโยงกับประวัติศาสตร์ และอดีตของการเป็นดินแดนแห่งผู้อพยพซึ่งยังผลให้พื้นถิ่นริมน้ำโขงเต็มไปด้วยอาหารอันแสนหลากหลาย หลากที่มา

นิติ ภวัครพันธุ์

7 Mar 2022

Life & Culture

8 Feb 2022

‘ของเคยกิน’ ไม่เหมือนเดิม!

นิติ ภวัครพันธุ์ เขียนถึงวัฒนธรรมและอุตสาหกรรมอาหารที่ผูกโยง ข้องเกี่ยวกับชีวิตประจำวันของมนุษย์อย่างลึกซึ้ง พร้อมกันนั้นก็เต็มไปด้วยความเปลี่ยนแปลงในทุกยุคทุกสมัย

นิติ ภวัครพันธุ์

8 Feb 2022

Thai Politics

10 Jan 2022

จนข้ามชนชั้น ข่าวร้ายข้ามปี!

นิติ ภวัครพันธุ์ ชวนสำรวจมายาคติในนามของ ‘ตราบาป’ ผ่านเรื่องความจนและชนชั้น ไม่ว่าจะเป็นจนเพราะขี้เกียจ จนเพราะไม่มีความทะเยอทะยาน ตลอดจนวลี ‘จน เครียด กินเหล้า’ อันเป็นสิ่งที่สังคมมอบให้เหล่าคนจนมายาวนานนับทศวรรษ

นิติ ภวัครพันธุ์

10 Jan 2022

Life & Culture

8 Nov 2021

อาหารจานด่วน (ค) ชักเย่อกับ ‘วัฒนธรรมฟาสต์ฟู้ด’

นิติ ภวัครพันธุ์ พาสำรวจ ‘ฟาสต์ฟู้ด’ และอุตสาหกรรมอาหาร ตั้งแต่พัฒนาการของธุรกิจที่ส่งผลต่อวัฒนธรรมการกิน ผลกระทบของฟาสต์ฟู้ดต่อสุขภาพของผู้บริโภค ไปจนถึงการปรับตัวของธุรกิจฟาสต์ฟู้ดเพื่อความอยู่รอด

นิติ ภวัครพันธุ์

8 Nov 2021

Life & Culture

13 Oct 2021

อาหารจานด่วน (ข) ความยอกย้อนของ ‘ฟาสต์ฟู้ด’

ท่องโลก ‘อาหารจานด่วน’ ไปกับ นิติ ภวัครพันธุ์ และเรื่องราวของเมนูยอดนิยมในสังคมตะวันตก ที่พัฒนามาจากอาหารผู้อพยพ และกลายเป็นอาหารจานด่วนที่เรารู้จักกันดีในวันนี้

นิติ ภวัครพันธุ์

13 Oct 2021

Human & Society

9 Sep 2021

อาหารจานด่วน (ก) ‘จานด่วน’ ที่มาก่อน ‘ฟาสต์ฟู้ด’

นิติ ภวัครพันธุ์ เขียนถึง ที่มาและพัฒนาการของ ‘อาหารจานด่วน’ ที่เดินทางไปค่อนโลกผ่านผู้อพยพชาวจีน รวมทั้งอิทธิพลของอาหารจานด่วนแบบจีนๆ ที่ผสมผสานกับวัฒนธรรมอาหารท้องถิ่นจนกลายเป็นอาหารจานด่วนที่ถูกปากผู้คนหลากหลายเชื้อชาติ

นิติ ภวัครพันธุ์

9 Sep 2021

Life & Culture

20 Apr 2021

ชัยชนะของทุนนิยม(?) เมื่อ ‘ความเย็น’ กลายเป็นปัจจัยที่ห้า

นิติ ภวัครพันธุ์ เขียนถึง อิทธิพลของตู้เย็นและ ‘ความเย็น’ ในชีวิตประจำวัน ตั้งแต่ความเป็นมาและพัฒนาการในสังคมตะวันตก และการค้นพบความสำคัญของความเย็นที่นำไปสู่การคิดและประดิษฐ์เครื่องสร้างความเย็น

นิติ ภวัครพันธุ์

20 Apr 2021

Life & Culture

16 Mar 2021

ฆ่าตัวตายช่วงโควิด: ดัชนีความใส่ใจในความผาสุกของผู้คน

นิติ ภวัครพันธุ์ ชวนทบทวนเรื่องการฆ่าตัวตายที่เกี่ยวข้องกับการระบาดของโควิด 19 ผ่านกรณีศึกษาและเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในบางประเทศ และย้อนกลับมาตั้งคำถามต่อสังคมไทยและรัฐ ว่าการฆ่าตัวตายเป็นความรับผิดชอบของส่วนรวมที่จะต้องใส่ใจอย่างจริงจังไม่ใช่หรือ?

นิติ ภวัครพันธุ์

16 Mar 2021
1 2

RECOMMENDED

Social Issues

17 Feb 2017

อ่านข่าวออนไลน์จากสำนักไหน ใครจำได้บ้าง

แน่นอน คนเราอ่านข่าวออนไลน์กันมากขึ้น แต่เราจำได้หรือเปล่าว่าข่าวไหนมาจากสำนักไหน ใครวิเคราะห์อะไรบ้าง ได้ตามข่าวไหนต่อเป็นพิเศษหรือเปล่า วิธีอ่านข่าวออนไลน์ของเราเป็นอย่างไร

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Social Issues

17 Feb 2017

น้ำแข็งขั้วโลกหดตัวต่ำสุดในประวัติศาสตร์ ไม่ใช่แค่ขั้วเดียว-แต่ทั้งสองขั้วเลย!

ขั้วโลกเหนือเป็นฤดูหนาว ขั้วโลกใต้เป็นฤดูร้อน แต่ที่เหมือนกันก็คือ ไม่ว่าจะหนาวจะร้อน ทั้งสองขั้วโลกต่างมีอาการ ‘น้ำแข็งหดตัว’ จนเกิดสถิติใหม่อย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อนด้วยกันทั้งคู่!

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Life & Culture

20 Feb 2017

พื้นที่สาธารณะ พื้นที่ของใครกันแน่?

ดัชนีชี้วัดความสุขประชากรในเมืองขึ้นอยู่กับอะไรบ้าง ห้างสวยแอร์เย็น รถไฟฟ้าไร้โฆษณา หรือจริงๆ มนุษย์เมืองล้วนต้องการพื้นที่สาธารณะที่เป็น ‘สาธารณะ’ จริงๆ

เทพพิทักษ์ มณีพงษ์

20 Feb 2017

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save