fbpx

Law

20 Mar 2024

ความอับจนในระบบความรู้ของนิติศาสตร์ไทย

สมชาย ปรีชาศิลปกุล ตั้งคำถามถึงท่าทีของสถาบันการศึกษาด้านนิติศาสตร์ เมื่อคำอธิบายตามระบบความรู้ด้านนิติศาสตร์ที่สอนกันนั้นไม่ได้เกิดขึ้นในโลกความเป็นจริง

สมชาย ปรีชาศิลปกุล

20 Mar 2024

Law

6 Mar 2024

บทบาทของเนติบัณฑิตหญิงคนแรกในการจัดทำกฎหมายครอบครัวสมัยใหม่ของไทย

ไชยพัฒน์ ธรรมชุตินันท์ ชวนมองบทบาทของคุณหญิงแร่ม พรหโมบล บุณยประสพ ในการยกร่างกฎหมายครอบครัว ท่ามกลางบรรยากาศที่กระบวนการร่างกฎหมายอยู่ในมือของผู้ชายเป็นส่วนใหญ่

ไชยพัฒน์ ธรรมชุตินันท์

6 Mar 2024

Thai Politics

28 Feb 2024

ถอดคำวินิจฉัยระหว่างบรรทัด คดีล้มล้างการปกครอง กับ มุนินทร์ พงศาปาน

101 ชวน รศ.ดร.มุนินทร์ พงศาปาน อาจารย์ประจำคณะนิติศาสตร์ มธ. ชำแหละคำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญ เพื่อสะท้อนถึงนักนิติศาสตร์ในการตีความหลักกฎหมาย ความเข้าใจของประชาชน และวิเคราะห์ผลพวงที่อาจเกิดขึ้นหลังจากนี้

เจียระไน ซองทอง

28 Feb 2024

Politics

21 Aug 2023

เมื่อการรู้เฉพาะกฎหมายไม่เพียงพอ: จินตนาการใหม่ถึงนักกฎหมายที่สังคมต้องการ กับ ปารีณา ศรีวนิชย์

101 คุยกับ ผศ.ดร.ปารีณา ศรีวนิชย์ คณบดีคณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ถึงการปรับตัวของการเรียนการสอนนิติศาสตร์ ความคาดหวังต่อนักกฎหมายที่เปลี่ยนไป และบทบาทของนักกฎหมายที่จะมีส่วนร่วมสร้างความยุติธรรมในสังคม

วจนา วรรลยางกูร

21 Aug 2023

Law

17 Aug 2023

ทำไมนักเรียนกฎหมายจึงต้องอ่านงานประวัติศาสตร์

สมชาย ปรีชาศิลปกุลชี้ชวนให้เห็นความสำคัญที่นักกฎหมายจำเป็นต้องอ่านงานประวัติศาสตร์ เพื่อประโยชน์ในการตีความกฎหมายโดยเข้าใจสังคม

สมชาย ปรีชาศิลปกุล

17 Aug 2023

Life & Culture

3 Aug 2023

คุณหญิงสุภัทรา สิงหลกะ : ชีวิตคือการต่อสู้

กษิดิศ อนันทนาธร เขียนถึงเส้นทางชีวิตของคุณหญิงสุภัทร สิงหลกะ ผู้เป็นทั้งชาววัง เจ้าของเรือด่วนเจ้าพระยาและนักกฎหมายผู้ต่อสู้เพื่อสิทธิสตรี

กษิดิศ อนันทนาธร

3 Aug 2023

Law

25 May 2023

คำพิพากษาศาลฎีกา META แห่งเนติบัณฑิตไทย

ดิศรณ์ ลิขิตวิทยาวุฒิ ชวนมองปัญหาเนติบัณฑิตไทยที่ยึดคำพิพากษาฎีกาเป็นสรณะเพื่อให้สอบผ่าน ไม่ต่างจากการใช้เทคนิคเล่นเกมเดิมซ้ำๆ แบบ play to win จนหยุดทักษะการคิดวิเคราะห์ปัญหา

ดิศรณ์ ลิขิตวิทยาวุฒิ

25 May 2023

Politics

9 May 2023

ปฏิรูปกฎหมายหลังเลือกตั้ง

มุนินทร์ พงศาปาน วิเคราะห์ว่ากฎหมายไทยอยู่ในสภาวะวิกฤต ภารกิจสำคัญของรัฐบาลหลังเลือกตั้งจึงคือการปฏิรูปกฎหมายและกระบวนการยุติธรรม

มุนินทร์ พงศาปาน

9 May 2023

Life & Culture

23 Feb 2023

มารุต บุนนาค : ชีวิตที่เรียนรู้ไปเพื่อรับใช้ประชาชน

กษิดิศ อนันทนาธร ย้อนรำลึกถึง ‘มารุต บุนนาค’ นักกฎหมาย อาจารย์ อดีตประธานรัฐสภา ผู้มีคุณูปการแก่วงการนิติศาสตร์ไทย

กษิดิศ อนันทนาธร

23 Feb 2023

Politics

24 Jan 2023

“จุดไฟแล้วส่งต่อ อย่าให้ดับ” วรเจตน์ ภาคีรัตน์ ในวันที่ต้องยอมรับว่าการเปลี่ยนแปลงใช้เวลามากกว่าที่คิด

101 ชวน วรเจตน์ ภาคีรัตน์ มองภาพกว้างสังคมไทยว่าเราควรทำความเข้าใจอย่างไรต่อระบอบการปกครองที่เป็นอยู่นี้ คุณค่าหลักที่อยู่ในรัฐธรรมนูญคืออะไรและจะส่งผลอย่างไรต่อการต่อสู้ทางการเมือง จนถึงประเด็นที่ชวนคิดต่อการเลือกตั้ง 2566

วจนา วรรลยางกูร

24 Jan 2023

Social Issues

17 Jan 2023

เปลี่ยนการเรียนการสอบนิติศาสตร์ ด้วยกระดาษ A4 หนึ่งใบ

สมชาย ปรีชาศิลปกุล ชวนคิดถึงการเปลี่ยนรูปแบบการประเมินความรู้ความสามารถของนักเรียนกฎหมาย โดยแนวทางที่เขาทดลองเริ่มต้นด้วยกระดาษ A4 หนึ่งใบ

สมชาย ปรีชาศิลปกุล

17 Jan 2023

Politics

27 Nov 2022

อดีตอันเป็นนิรันดร์ในกฎหมายหมิ่นพระมหากษัตริย์ไทย

เข็มทอง ต้นสกุลรุ่งเรือง ชวนมองปัญหาของคำพิพากษาฎีกาที่สั่งลงโทษจำเลยที่หมิ่นรัชกาลที่ 4 ซึ่งกลายเป็นฎีกาที่นักกฎหมายยึดเป็นหลักในการสั่งฟ้อง 112 ในกรณีที่พาดพิงอดีตกษัตริย์

เข็มทอง ต้นสกุลรุ่งเรือง

27 Nov 2022

Law

15 Nov 2022

จรัญ โฆษณานันท์ และนิติปรัชญาไทยนิพนธ์

สมชาย ปรีชาศิลปกุล เขียนถึงงานเขียนด้านนิติปรัชญาของจรัญ โฆษณานันท์ อันสร้างคุณูปการแก่ผู้ศึกษากฎหมายในไทย

สมชาย ปรีชาศิลปกุล

15 Nov 2022

Politics

3 Oct 2022

ข้อพิจารณาบางประการเกี่ยวกับอำนาจสถาปนารัฐธรรมนูญ

วิษณุ วรัญญู ชวนมองข้อถกเถียงเรื่อง ‘อำนาจสถาปนารัฐธรรมนูญ’ เมื่อการใช้อำนาจสถาปนารัฐธรรมนูญอย่างถูกต้องตามหลักการเป็นเงื่อนไขปัจจัยประการหนึ่งที่ทำให้รัฐธรรมนูญที่สถาปนาขึ้นมีความชอบธรรมและได้รับการเคารพปฏิบัติตาม

วิษณุ วรัญญู

3 Oct 2022
1 2

RECOMMENDED

Social Issues

17 Feb 2017

อ่านข่าวออนไลน์จากสำนักไหน ใครจำได้บ้าง

แน่นอน คนเราอ่านข่าวออนไลน์กันมากขึ้น แต่เราจำได้หรือเปล่าว่าข่าวไหนมาจากสำนักไหน ใครวิเคราะห์อะไรบ้าง ได้ตามข่าวไหนต่อเป็นพิเศษหรือเปล่า วิธีอ่านข่าวออนไลน์ของเราเป็นอย่างไร

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Social Issues

17 Feb 2017

น้ำแข็งขั้วโลกหดตัวต่ำสุดในประวัติศาสตร์ ไม่ใช่แค่ขั้วเดียว-แต่ทั้งสองขั้วเลย!

ขั้วโลกเหนือเป็นฤดูหนาว ขั้วโลกใต้เป็นฤดูร้อน แต่ที่เหมือนกันก็คือ ไม่ว่าจะหนาวจะร้อน ทั้งสองขั้วโลกต่างมีอาการ ‘น้ำแข็งหดตัว’ จนเกิดสถิติใหม่อย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อนด้วยกันทั้งคู่!

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Life & Culture

20 Feb 2017

พื้นที่สาธารณะ พื้นที่ของใครกันแน่?

ดัชนีชี้วัดความสุขประชากรในเมืองขึ้นอยู่กับอะไรบ้าง ห้างสวยแอร์เย็น รถไฟฟ้าไร้โฆษณา หรือจริงๆ มนุษย์เมืองล้วนต้องการพื้นที่สาธารณะที่เป็น ‘สาธารณะ’ จริงๆ

เทพพิทักษ์ มณีพงษ์

20 Feb 2017

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save