fbpx

Life & Culture

25 Jan 2024

“ทุนสะท้อนความเห็นเรื่องผังเมืองได้ แต่ไม่ควรชี้นำ” พรสรร วิเชียรประดิษฐ์ ว่าด้วยผังเมืองเรื่องของทุน (?)

101 สนทนากับ ดร.พรสรร วิเชียรประดิษฐ์ สำรวจบทบาทและพื้นที่ของ ‘ทุนนิยม’ ที่มีต่อผังเมือง ในโมงยามที่การปรับปรุงผังเมืองรวมกรุงเทพมหานครกำลังถูกพูดถึงและถูกจับตาอย่างใกล้ชิดเช่นนี้

พิมพ์ชนก พุกสุข

25 Jan 2024

Life & Culture

5 Sep 2023

ส้วมเซฟโซน: เมื่อส้วมโอบกอดเราไว้ ในวันที่ร้องไห้และอยากหายไปเงียบๆ คนเดียว

อิทธิเดช พระเพ็ชร เขียนถึงประวัติศาสตร์ของ ‘ส้วม’กับหน้าที่ของการเป็นห้องสุขาของคนตั้งแต่อดีต กับการกลายเป็น ‘เซฟโซน’ ของคนในปัจจุบัน

อิทธิเดช พระเพ็ชร

5 Sep 2023

Life & Culture

10 Aug 2023

สถาปัตยกรรมภายใต้เขี้ยวเล็บเสรีนิยมใหม่ : ดักลาส สเปนเซอร์

101 สนทนากับ ดักลาส สเปนเซอร์ อาจารย์สาขาวิชาประวัติศาสตร์และทฤษฎีวิพากษ์เชิงวิจารณ์ ที่มหาวิทยาลัยบักกิงแฮมเชอร์ ชิลเทิร์นส์ในสหราชอาณาจักร เกี่ยวกับสถาปัตยกรรมในระบอบเสรีนิยมใหม่ ที่ชวนยึดโยงมาถึงกรณีศษลเจ้าแม่ทับทิมและสำนักงานจัดการทรัพย์สินจุฬาฯ ในเวลานี้

พิมพ์ชนก พุกสุข

10 Aug 2023

Life & Culture

4 Apr 2023

Dystopia Now? ผีร้ายของสังคมไทย ในคราบทุนนิยมและรัฐเผด็จการ – ธีระวัฒน์ มุลวิไล

101 คุยกับ คาเงะ – ธีระวัฒน์ มุลวิไล ถึงนิทรรศการ Utopia Now ที่ไม่เพียงแสดงสัญญะการต่อสู้ทางการเมือง แต่ยังเสียดสีระบบทุนนิยมผูกขาดที่กำลังกัดกินชีวิตคนไทย

ภาวรรณ ธนาเลิศสมบูรณ์

4 Apr 2023

Life & Culture

17 Dec 2021

“อำนาจทำงานกับเราตลอด 24 ชั่วโมงใน 7 วันต่อ 1 สัปดาห์” ภู กระดาษ

คุยกับภู กระดาษ ว่าด้วยหนังสือ 24-7/1 มุมมองต่อเศรษฐกิจสังคม อัตลักษณ์ความเป็นลาว และความคาดหวังต่อการเขียนหนังสือ

ปาณิส โพธิ์ศรีวังชัย

17 Dec 2021

Life & Culture

24 Sep 2021

[ความน่าจะอ่าน] เมื่อโลกซึมเศร้า: มันไม่ใช่ความผิดของคุณ

ทีปกร วุฒิพิทยามงคล เขียนถึงหนังสือ ‘เมื่อโลกซึมเศร้า: Mark Fisher, โลกสัจนิยมแบบทุน และลัดดาแลนด์’ ผลงานของสรวิศ ชัยนาม 1 ใน 11 Top Highlights ‘ความน่าจะอ่าน 2021’ ว่าด้วยโลกสัจนิยมแบบทุน และชวนตั้งคำถามว่าอาการซึมเศร้ารวมหมู่ที่เกิดขึ้นเป็นเรื่องของปัจเจกหรือเรื่องของทุนกันแน่

ทีปกร วุฒิพิทยามงคล

24 Sep 2021

Thai Politics

13 Aug 2021

เจ้าฟ้า-เจ้าสัว: จากความมั่งคั่งบนสายสัมพันธ์ สู่การปฏิรูปสถาบันกษัตริย์ ‘ปวงชน อุนจะนำ’

ในวาระครบรอบ 1 ปีการประกาศข้อเรียกร้องปฏิรูปสถาบันกษัตริย์ 101 สนทนากับ ปวงชน อุนจะนำ ว่าด้วย บทบาท-สถานะ-อำนาจของ ‘สถาบันกษัตริย์กระฎุมพี’ ในทุนนิยมและประชาธิปไตยไทยท่ามกลางกระแสคลื่นลมแห่งความเปลี่ยนแปลงที่ถูกกดทับทั้งทางการเมืองและเศรษฐกิจมานาน

ณรจญา ตัญจพัฒน์กุล

13 Aug 2021

World

4 Apr 2021

ชนใดไม่มีดนตรีกาลยาวเกินสามนาที: ทุนนิยมอุตสาหกรรมดนตรี และ Noise Music

คอลัมน์ ‘ช่วยด้วยเพื่อนฉันเป็นฝ่ายซ้าย’ ตอนใหม่ พลอยใจ ปิ่นตบแต่ง เขียนถึง เดวิด เพื่อนนักศึกษาฝ่ายซ้าย ผู้เข้าใจวัฒนธรรมไทยด้วยการกินหมากพลูไหว้ศาลเจ้าที่ และมักวิพากษ์ระบบทุนนิยมโลกผ่านรสนิยมทางดนตรี

พลอยใจ ปิ่นตบแต่ง

4 Apr 2021

Film & Music

15 Feb 2021

‘ดาบพิฆาตอสูร เดอะมูฟวี่: ศึกรถไฟสู่นิรันดร์’ การต่อสู้ฟาดฟันภายใต้ทุนนิยม

ปฐมพงศ์ กวางทอง ชวนมองภาพยนตร์ ‘ดาบพิฆาตอสูร เดอะมูฟวี่: ศึกรถไฟสู่นิรันดร์’ ที่เปรียบการต่อสู้ระหว่างนักล่าอสูรและอสูรเหมือนการต่อสู้ของชนชั้นแรงงานกับระบอบทุนนิยมในสังคมจริง

กองบรรณาธิการ

15 Feb 2021

Political Economy

24 Dec 2020

สังคมนิยมไม่ใช่คำตอบ: มุมมองผ่านแว่นตาของดักลาส นอร์ธ

อิสร์กุล อุณหเกตุ ชวนอ่านมุมมองเกี่ยวกับระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนิยมที่เคยเกิดขึ้นจริงในประวัติศาสตร์เศรษฐกิจโลก ผ่านกรอบแนวคิดแบบสำนักเศรษฐศาสตร์สถาบันแนวใหม่ (NIEs) ของดักลาส นอร์ธ

อิสร์กุล อุณหเกตุ

24 Dec 2020

Projects

11 Jul 2020

101 In Focus Ep.47 : แก้แค่การศึกษาอาจไม่แก้ความเหลื่อมล้ำ?

101 in focus สัปดาห์นี้ ชวนคุณฟังอีกมุมมองหนึ่งเรื่องการแก้ความเหลื่อมล้ำด้วยการศึกษา ข้อจำกัดในโลกความเป็นจริง และมิติด้านอื่นในสังคมที่เราควรใส่ใจมากยิ่งขึ้น  

กองบรรณาธิการ

11 Jul 2020

Global Affairs

8 Jul 2020

ความเหลื่อมล้ำ การศึกษา และทุนในศตวรรษที่ 21

พศธน แสงวันลอย เขียนถึงหนังสือ ‘ทุนในศตวรรษที่ 21’ ของ Thomas Piketty และชี้ให้เห็นถึงข้อจำกัดของการศึกษาในระบอบทุนนิยมที่อาจไม่เพียงพอต่อการลดความเหลื่อมล้ำ

กองบรรณาธิการ

8 Jul 2020

Thai Politics

11 Jun 2020

ชวนอ่านแนววิเคราะห์รัฐและทุนนิยมไทยในงานของ ไกรศักดิ์ ชุณหะวัณ

ศุภมิตร ปิติพัฒน์ ชวนอ่านแนววิเคราะห์ รัฐและทุนนิยมไทยในงานของ ไกรศักดิ์ ชุณหะวัณ อีกครั้ง ทั้งในฐานะ ‘ปฏิบัติการทางปัญญา’ แห่งยุคสมัย และในฐานะบทวิเคราะห์เศรษฐกิจการเมืองไทย ซึ่งพลิกผันปั่นป่วนอย่างต่อเนื่องนับตั้งแต่หลายทศวรรษก่อนจนถึงปัจจุบัน

ศุภมิตร ปิติพัฒน์

11 Jun 2020

Issue of the Age

30 Apr 2020

8 นักคิด 8 จักรวาลความคิด มองโลกยุค COVID-19 (1)

วิกฤตไวรัส COVID-19 เผยให้เห็นวิกฤตอะไรบ้างที่ซ่อนอยู่ใต้ภูเขาน้ำแข็ง? แล้วโลกหลังยุค COVID-19 จะหมุนต่อไปอย่างไร? 101 ชวนเปิดจักรวาลความคิดนักคิดระดับโลก สำรวจปัจจุบัน และมองไปยังอนาคต

ณรจญา ตัญจพัฒน์กุล

30 Apr 2020
1 2

RECOMMENDED

Social Issues

17 Feb 2017

อ่านข่าวออนไลน์จากสำนักไหน ใครจำได้บ้าง

แน่นอน คนเราอ่านข่าวออนไลน์กันมากขึ้น แต่เราจำได้หรือเปล่าว่าข่าวไหนมาจากสำนักไหน ใครวิเคราะห์อะไรบ้าง ได้ตามข่าวไหนต่อเป็นพิเศษหรือเปล่า วิธีอ่านข่าวออนไลน์ของเราเป็นอย่างไร

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Social Issues

17 Feb 2017

น้ำแข็งขั้วโลกหดตัวต่ำสุดในประวัติศาสตร์ ไม่ใช่แค่ขั้วเดียว-แต่ทั้งสองขั้วเลย!

ขั้วโลกเหนือเป็นฤดูหนาว ขั้วโลกใต้เป็นฤดูร้อน แต่ที่เหมือนกันก็คือ ไม่ว่าจะหนาวจะร้อน ทั้งสองขั้วโลกต่างมีอาการ ‘น้ำแข็งหดตัว’ จนเกิดสถิติใหม่อย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อนด้วยกันทั้งคู่!

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Life & Culture

20 Feb 2017

พื้นที่สาธารณะ พื้นที่ของใครกันแน่?

ดัชนีชี้วัดความสุขประชากรในเมืองขึ้นอยู่กับอะไรบ้าง ห้างสวยแอร์เย็น รถไฟฟ้าไร้โฆษณา หรือจริงๆ มนุษย์เมืองล้วนต้องการพื้นที่สาธารณะที่เป็น ‘สาธารณะ’ จริงๆ

เทพพิทักษ์ มณีพงษ์

20 Feb 2017