fbpx

Politics

31 Mar 2023

กฎหมายไม่ใช่ความยุติธรรมเสมอไป: ธงทอง จันทรางศุ มองกระบวนการยุติธรรมในวันที่ต้องเรียกหาศรัทธา

สนทนากับ ธงทอง จันทรางศุ เพื่อทบทวนถึงปัญหาเรื่องความเชื่อมั่นในกระบวนการยุติธรรมและเรื่องที่รัฐบาลใหม่พึงใส่ใจภายหลังการเลือกตั้ง

วจนา วรรลยางกูร

31 Mar 2023

Media

24 Jan 2023

101 One-on-One Ep.287 อดอาหารกี่ครั้ง ตุลาการจึงจะเป็นธรรม? : สมชาย ปรีชาศิลปกุล

101 ชวน รศ.สมชาย ปรีชาศิลปกุล คุยถึงความผิดปกติในกระบวนการถอนประกันตัว สิทธิที่ขาดหายของผู้ต้องหาคดีการเมือง และปัญหาที่เกิดขึ้นในแวดวงตุลาการ

กองบรรณาธิการ

24 Jan 2023

Politics

12 Jul 2022

ทำไมผู้พิพากษาจึงบิดเบือนการใช้กฎหมาย

สมชาย ปรีชาศิลปกุล วิเคราะห์ว่ามีเหตุใดบ้างที่จะทำให้เกิดกรณีการตัดสินผิดพลาดของผู้พิพากษา ทั้งเรื่องความเป็นอิสระ ความรับผิดในการปฏิบัติหน้าที่ หรือกระทั่งเรื่องอุดมการณ์ที่ครอบงำ

สมชาย ปรีชาศิลปกุล

12 Jul 2022

Thai Politics

24 Mar 2022

ในพระปรมาภิไธยพระมหากษัตริย์: ว่าด้วยพระราชอำนาจในทางตุลาการ

อติเทพ ไชยสิทธิ์ ชวนสำรวจแนวคิดเรื่องการตัดสินคดีความในพระปรมาภิไธยของพระมหากษัตริย์ และปัญหาที่เกิดขึ้นจากความเข้าใจผิดของตุลาการไทย

อติเทพ ไชยสิทธิ์

24 Mar 2022

Politics

15 Dec 2021

ความเกลียดกลัวเพศหลากหลายจาก ‘ตุลาการชาย’ ยุคเบบี้บูม

สมชาย ปรีชาศิลปกุล ชวนพิจารณาคุณลักษณะของตุลาการศาลรัฐธรรมนูญที่อาจช่วยทำความเข้าใจปัจจัยที่ส่งผลต่อคำวินิจฉัยกรณีสมรสเท่าเทียม

สมชาย ปรีชาศิลปกุล

15 Dec 2021

Politics

10 Dec 2021

เรื่องอื้อฉาวของอาจารย์สอนกฎหมายระดับโลก

เข็มทอง ต้นสกุลรุ่งเรือง ชวนมองเรื่องอื้อฉาวของอาจารย์สอนกฎหมายที่มหาวิทยาลัยเยล ผู้ซึ่งถูกสังคมจับจ้องหลังออกตัวสนับสนุนผู้พิพากษาศาลฎีกาที่มีแนวคิดอนุรักษนิยมสุดโต่ง จนถูกขุดคุ้ยเรื่องอื้อฉาวและการเอื้อผลประโยชน์กัน

เข็มทอง ต้นสกุลรุ่งเรือง

10 Dec 2021

Life & Culture

25 Mar 2021

The Mauritanian: กระบวนการยุติธรรมต้องไม่ถูกชี้นำโดยความกลัว

วจนา วรรลยางกูร ชวนมองกระบวนการยุติธรรมไทยผ่านภาพยนตร์ The Mauritanian ที่ฉายภาพความอยุติธรรมของนักโทษคุกกวนตานาโม

วจนา วรรลยางกูร

25 Mar 2021

Interviews

31 Jul 2020

มุนินทร์ พงศาปาน: นักกฎหมายต้องลั่นระฆัง เมื่อความยุติธรรมถูกล้ำเส้น

วจนา วรรลยางกูร สนทนากับ รศ.ดร.มุนินทร์ พงศาปาน ถึงการสอนนิติศาสตร์ในสภาพสังคมปัจจุบัน การฝึกฝนทางวิชาชีพ ระบบสอบผู้พิพากษา จนถึงการสร้างนักกฎหมายที่สร้างความเป็นธรรมให้สังคม

วจนา วรรลยางกูร

31 Jul 2020

Media

29 Nov 2019

101 In Focus EP.18 : ตุลาการธิปไตย

เมื่อวันที่ 20 พฤศจิกายน 2562 ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยให้สมาชิกสภาพ ส.ส. ของนายธนาธร จึงรุ่งเรืองกิจ หัวหน้าพรรคอนาคตใหม่ สิ้นสุดลง นี่ไม่ใช่ครั้งแรกที่ศาลรัฐธรรมนูญมีบทบาทสั่นสะเทือนการเมืองไทย คำพิพากษาศาลรัฐธรรมนูญตั้งแต่ปี 2549 หลายครั้งส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงใหญ่ กระทั่งเปลี่ยนขั้วอำนาจทางการเมือง 101 In Focus EP.18 ชวนคุยชวนคิดเรื่อง “ตุลาการธิปไตย” ผ่านผลงานสื่อของ 101

กองบรรณาธิการ

29 Nov 2019

Law

11 Sep 2019

ตุลาการนิยมล้นเกิน (Hyper-Judicial Activism)

สมชาย ปรีชาศิลปกุล เขียนถึงปรากฏการณ์ ‘ตุลาการนิยมล้นเกิน’ โดยยกกรณีศึกษาที่เกิดขึ้นในสถาบันตุลาการทั่วโลก ที่ขยับบทบาทจากการชี้ขาดประเด็นทางกฎหมายมาสู่การใช้อำนาจที่เป็นปฏิปักษ์ประชาธิปไตย

สมชาย ปรีชาศิลปกุล

11 Sep 2019

Law

15 May 2019

จริยธรรมของผู้ทรงความยุติธรรม

สมชาย ปรีชาศิลปกุล เขียนถึงหลักความเสมอภาคต่อหน้ากฎหมาย ซึ่งเป็นสิ่งที่ผู้ทรงความยุติธรรมต้องเคารพอย่างเคร่งครัด แถมยังบัญญัติไว้ในประมวลจริยธรรมของข้าราชการตุลาการด้วย

สมชาย ปรีชาศิลปกุล

15 May 2019

Law

14 Feb 2018

สิเน่หาอาชญากรรม

ในบรรยากาศวันแห่งความรัก สมชาย ปรีชาศิลปกุล สำรวจความหมายของ ‘ความรัก’ ในคำพิพากษา เพศวิถีในแวดวงตุลาการดำเนินไปในทิศทางเดียวกับโลกที่กำลังหมุนไป หรือยิ่งห่างไกลมากขึ้นเรื่อยๆ

สมชาย ปรีชาศิลปกุล

14 Feb 2018

Law

17 Jan 2018

อำมาตย์ตุลาการอำพราง

สมชาย ปรีชาศิลปกุล วิพากษ์ระบบสอบเข้าดำรงตำแหน่งผู้พิพากษา จากความบากบั่นในการ “ลอดรูเข็ม” ถึงการพรางตัวของชนชั้นนำตุลาการ สามัญชนมีโอกาสนั่งบัลลังก์ศาลมากน้อยเพียงใด การสอบเป็นการแข่งขันกันด้วยความสามารถล้วนๆ จริงหรือไม่ และกระบวนการสอบมีความหมายทางการเมืองเช่นใด

สมชาย ปรีชาศิลปกุล

17 Jan 2018

RECOMMENDED

Social Issues

17 Feb 2017

อ่านข่าวออนไลน์จากสำนักไหน ใครจำได้บ้าง

แน่นอน คนเราอ่านข่าวออนไลน์กันมากขึ้น แต่เราจำได้หรือเปล่าว่าข่าวไหนมาจากสำนักไหน ใครวิเคราะห์อะไรบ้าง ได้ตามข่าวไหนต่อเป็นพิเศษหรือเปล่า วิธีอ่านข่าวออนไลน์ของเราเป็นอย่างไร

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Social Issues

17 Feb 2017

น้ำแข็งขั้วโลกหดตัวต่ำสุดในประวัติศาสตร์ ไม่ใช่แค่ขั้วเดียว-แต่ทั้งสองขั้วเลย!

ขั้วโลกเหนือเป็นฤดูหนาว ขั้วโลกใต้เป็นฤดูร้อน แต่ที่เหมือนกันก็คือ ไม่ว่าจะหนาวจะร้อน ทั้งสองขั้วโลกต่างมีอาการ ‘น้ำแข็งหดตัว’ จนเกิดสถิติใหม่อย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อนด้วยกันทั้งคู่!

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Life & Culture

20 Feb 2017

พื้นที่สาธารณะ พื้นที่ของใครกันแน่?

ดัชนีชี้วัดความสุขประชากรในเมืองขึ้นอยู่กับอะไรบ้าง ห้างสวยแอร์เย็น รถไฟฟ้าไร้โฆษณา หรือจริงๆ มนุษย์เมืองล้วนต้องการพื้นที่สาธารณะที่เป็น ‘สาธารณะ’ จริงๆ

เทพพิทักษ์ มณีพงษ์

20 Feb 2017

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save