fbpx

Economic Focus

9 Apr 2024

หุ้นญี่ปุ่นนิวไฮ แต่เศรษฐกิจถดถอย: ทำไมตลาดทุน จึงไม่สะท้อนเศรษฐกิจจริงของญี่ปุ่น?

กฤตพล วิภาวีกุล ชวนวิเคราะห์ว่าทำไมดัชนีตลาดหุ้นญี่ปุ่น Nikkei ถึงกำลังทำนิวไฮได้ต่อเนื่อง ทั้งที่เศรษฐกิจญี่ปุ่นไม่ค่อยสดใส

กฤตพล วิภาวีกุล

9 Apr 2024

World

7 Feb 2024

Asia-Arctic Five: รัฐเอเชียกับการสร้างตำแหน่งแห่งที่ในภูมิรัฐศาสตร์ขั้วโลกเหนือ

ศิวัชฐ์ วรรณโกมล ชวนสำรวจความสัมพันธ์ระหว่างรัฐเอเชีย 5 ประเทศ กับการเข้าไปมีบทบาทร่วมกับสภาอาร์กติก และมหาอำนาจฝั่งขั้วโลกเหนือ

ศิวัชฐ์ วรรณโกมล

7 Feb 2024

Social Issues

5 Feb 2024

สหภาพแรงงานการศึกษาในญี่ปุ่น: รุ่งโรจน์ แตกแยก และเสื่อมถอย พลังที่อยู่คนละฝั่งกับรัฐบาล

ภิญญพันธุ์ พจนะลาวัณย์ เขียนถึงสหภาพแรงงานครูในญี่ปุ่น ร่วมหาคำตอบว่าสหภาพฯ มีบทบาทอย่างไรต่อภาคการศึกษาในญี่ปุ่นหลังควันสงครามจางลง

ภิญญพันธุ์ พจนะลาวัณย์

5 Feb 2024

Life & Culture

6 Nov 2023

“ญี่ปุ่นเป็นมากกว่าซูชิ มีมากกว่าอนิเมะ” เอมะ ไรอัน ยามาซากิ คนทำหนังผู้สำรวจสังคมญี่ปุ่นผ่านสารคดีว่าด้วย ‘โรงเรียนประถม’

“คนญี่ปุ่นไม่ได้เกิดมาเป็นอย่างที่เราเห็นกันในเวลานี้ แต่พวกเราถูกการศึกษาหล่อหลอมต่างหาก”

เอมะ ไรอัน ยามาซากิ สำรวจสังคมญี่ปุ่นที่ถูกพิจารณาว่าเป็นสังคมแห่งระเบียบแบบแผน ผ่านการศึกษาชั้นประถมที่ทำให้เห็นว่า ระเบียบแบบแผนที่ว่านั้นไม่ได้เกิดขึ้นโดยตัวมันเอง หากแต่เป็น ‘ระบบ’ ของสังคมที่เชื่อมโยงกับการศึกษาอย่างแยกไม่ขาดต่างหาก

พิมพ์ชนก พุกสุข

6 Nov 2023

Life & Culture

9 Oct 2023

Monster: สัตว์ประหลาดคือคนอื่น

วิวัฒน์ เลิศวิวัฒน์วงศา เขียนถึง Monster ภาพยนตร์เรื่องล่าสุดของ Kore-eda ผู้กำกับชาวญี่ปุ่น ว่าด้วยเรื่องที่ตั้งต้นจากตึกไฟไหม้ ไปจนถึงเรื่องราวของครู แม่เลี้ยงเดี่ยว และความสัมพันธ์ของเด็กชายสองคน

วิวัฒน์ เลิศวิวัฒน์วงศา

9 Oct 2023

World

14 Jul 2023

เรื่องเล่า ‘คนตาย’ แกล้ง ‘คนเป็น’ ในสังคมญี่ปุ่น

สุภา ปัทมานันท์ เขียนถึง ‘สังคมที่มีผู้เสียชีวิตมาก’ ของญี่ปุ่น ซึ่งเป็นผลมาจากสังคมผู้สูงวัย ที่ขาดแคลนประชากรเกิดใหม่

สุภา ปัทมานันท์

14 Jul 2023

World

29 Jun 2023

LGBTQ ในญี่ปุ่น: ส่องก้าวย่างด้านสิทธิจากมิติแรงกดดันระหว่างประเทศ

ธีวินท์ สุพุทธิกุล เขียนถึง การผ่าน ‘กฎหมายส่งเสริมความเข้าใจ’ กฎหมายว่าด้วยการสนับสนุนความเท่าเทียมทางเพศในญี่ปุ่น ซึ่งมีเนื้อหาที่กำกวม และออกมาในจังหวะที่ล่าช้า สะท้อนถึงการขับเคี่ยวและต่อรองที่ไม่ราบรื่นนักระหว่างหลักคุณค่าดั้งเดิมกับบรรทัดฐานใหม่ และแรงกดดันจากภายนอก

ธีวินท์ สุพุทธิกุล

29 Jun 2023

World

6 Jun 2023

การประชุมสุดยอดผู้นำ G7 ที่ฮิโรชิมา ฉบับภาคประชาชน

สุภา ปัทมานันท์เขียนถึงเนื้อหาการประชุมสุดยอดผู้นำ G7 ที่ฮิโรชิมา 2023 และบาดแผลจากนิวเคลียร์ที่ผู้นำควรเรียนรู้

สุภา ปัทมานันท์

6 Jun 2023

World

27 Apr 2023

ญี่ปุ่น G7 กับการเป็นประเทศกลุ่มผู้นำโลก

ธีวินท์ สุพุทธิกุล เขียนถึง ญี่ปุ่นกับการเป็นเจ้าภาพการประชุม G7 ที่เป็นทั้งโอกาสในการผลักดันวาระสันติภาพเพื่อเตือนใจผู้นำโลกในฐานะเหยื่อนิวเคลียร์รายแรกและรายเดียวของโลก และเป็นทั้งแรงกดดันให้ญี่ปุ่นในฐานะมหาอำนาจสายพลเรือนมีพฤติกรรมตามมาตรฐานของมหาอำนาจ ที่ในเวลานี้ที่วาระโลกอยู่ที่สงครามรัสเซีย-ยูเครนและประเด็นความมั่นคง

ธีวินท์ สุพุทธิกุล

27 Apr 2023

Life & Culture

7 Mar 2023

‘ทุกอย่าง 100 เยน’ การปรับตัวของร้านสินค้าราคาเดียวในญี่ปุ่น

สุภา ปัทมานันท์ เขียนถึงร้าน ‘ทุกอย่าง 100 เยน’ ของญี่ปุ่น ว่าด้วยภาพรวมธุรกิจและการปรับตัวในปัจจุบัน

สุภา ปัทมานันท์

7 Mar 2023

Life & Culture

9 Feb 2023

ร้านสะดวกซื้อญี่ปุ่นกับคนรุ่นใหม่

สุภา ปัทมานันท์ เขียนถึงสถานการณ์ของร้านสะดวกซื้อญี่ปุ่นในปัจจุบัน ที่ไม่มีคนสืบทอดกิจการ ไปจนถึงการตั้งคำถามกันว่าจำเป็นต้องเปิด 24 ชั่วโมงอยู่ไหม

สุภา ปัทมานันท์

9 Feb 2023

Life & Culture

16 Jan 2023

“ผมปวด…แต่ไม่อยากไปห้องน้ำ” ทำความรู้จักนิสัยการเข้าส้วมของเด็กญี่ปุ่น

สุภา ปัทมานันท์ เขียนถึงนิสัยการ ‘กลั้นอึ’ ของเด็กญี่ปุ่น ซึ่งมีสาเหตุมาจากหลายอย่าง หนึ่งในนั้นคือการที่เด็กไม่ชินกับส้วมนั่งยองแบบญี่ปุ่นในโรงเรียน คนญี่ปุ่นแก้ปัญหานี้อย่างไร

สุภา ปัทมานันท์

16 Jan 2023

World

21 Dec 2022

บันทึกประวัติศาสตร์ประจำปีแบบย่นย่อ: ‘การต่อสู้และสงคราม’ (戦) อักษรคันจิแห่งปี 2022 ของญี่ปุ่น

สุภา ปัทมานันท์ เขียนถึงคำว่า ‘เซน’ อักษรคันจิแห่งปี 2022 ของญี่ปุ่น ที่หมายถึงการต่อสู้และสงคราม สะท้อนภาพที่เกิดขึ้นทั้งปีในญี่ปุ่นที่ได้รับผลกระทบจากสงครามในยูเครนและต้องต่อสู้กับวิกฤตเศรษฐกิจ

สุภา ปัทมานันท์

21 Dec 2022

World

5 Sep 2022

‘บ้านร้าง’ กับวิถีชีวิตที่เปลี่ยนไปของคนญี่ปุ่น

สุภา ปัทมานันท์ เขียนถึง ‘บ้านร้าง’ ในญี่ปุ่น ที่มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ จนกลายเป็นปัญหาที่ต้องจัดการแก้ไข เหตุเพราะวิถีชีวิตของคนรุ่นใหม่ส่งผลต่อการเพิ่มขึ้นของบ้านร้าง พวกเขาแก้ไขเรื่องนี้อย่างไร

สุภา ปัทมานันท์

5 Sep 2022
1 2 3

RECOMMENDED

Social Issues

17 Feb 2017

อ่านข่าวออนไลน์จากสำนักไหน ใครจำได้บ้าง

แน่นอน คนเราอ่านข่าวออนไลน์กันมากขึ้น แต่เราจำได้หรือเปล่าว่าข่าวไหนมาจากสำนักไหน ใครวิเคราะห์อะไรบ้าง ได้ตามข่าวไหนต่อเป็นพิเศษหรือเปล่า วิธีอ่านข่าวออนไลน์ของเราเป็นอย่างไร

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Social Issues

17 Feb 2017

น้ำแข็งขั้วโลกหดตัวต่ำสุดในประวัติศาสตร์ ไม่ใช่แค่ขั้วเดียว-แต่ทั้งสองขั้วเลย!

ขั้วโลกเหนือเป็นฤดูหนาว ขั้วโลกใต้เป็นฤดูร้อน แต่ที่เหมือนกันก็คือ ไม่ว่าจะหนาวจะร้อน ทั้งสองขั้วโลกต่างมีอาการ ‘น้ำแข็งหดตัว’ จนเกิดสถิติใหม่อย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อนด้วยกันทั้งคู่!

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Life & Culture

20 Feb 2017

พื้นที่สาธารณะ พื้นที่ของใครกันแน่?

ดัชนีชี้วัดความสุขประชากรในเมืองขึ้นอยู่กับอะไรบ้าง ห้างสวยแอร์เย็น รถไฟฟ้าไร้โฆษณา หรือจริงๆ มนุษย์เมืองล้วนต้องการพื้นที่สาธารณะที่เป็น ‘สาธารณะ’ จริงๆ

เทพพิทักษ์ มณีพงษ์

20 Feb 2017

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save