fbpx

Economy

13 Dec 2023

ความอดทนต่อความเหลื่อมล้ำ และเสียงสะท้อนของผู้คนผ่านการเลือกตั้ง

วรรณพงษ์ ดุรงคเวโรจน์ เขียนถึงการรับรู้และความอดทนของคนต่อสภาพสังคมแห่งความเหลื่อมล้ำ รวมถึงสิ่งที่สะท้อนผ่านการเลือกตั้งของไทย

วรรณพงษ์ ดุรงคเวโรจน์

13 Dec 2023

Public Policy

11 Jan 2023

หยุดขุดหลุมฝังประเทศด้วย ‘เงินอุดหนุนเกษตรกร’ แบบเดิมๆ

101 PUB ชวนสำรวจปัญหาความยากจนของเกษตรกรไทย เข้าใจช่องโหว่ของนโยบายเงินอุดหนุนเกษตรกรในปัจจุบันที่ยิ่งทำก็เหมือนยิ่ง ‘ขุดหลุมฝังประเทศ’ พร้อมทั้งเสนอแนวทางเปลี่ยนสวัสดิการเติมรายได้ให้สามารถยกระดับความเป็นอยู่ของเกษตรกรได้อย่างยั่งยืน

วรดร เลิศรัตน์

11 Jan 2023

Economy

22 Aug 2022

บัตรคนจนที่ไปไม่ถึงคนจน

วรรณพงษ์ ดรงคเวโรจน์ เขียนถึงปัญหาการตกหล่นของ ‘บัตรคนจน’ และข้อถกเถียงว่าด้วยการลดความยากจนกับการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ

วรรณพงษ์ ดุรงคเวโรจน์

22 Aug 2022

Social Issues

21 Jul 2022

ด้วยรักแห่งอุดมการณ์

นพ.ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ์ เขียนถึง ‘ด้วยรักแห่งอุดมการณ์’ นวนิยายของวัฒน์ วรรลยางกูร อันสะท้อนภาพปัญหาความเหลื่อมล้ำของสังคมไทยที่ยังไม่เคลื่อนไปไหนเลยในครึ่งศตวรรษที่ผ่านมา

ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ์

21 Jul 2022

Interviews

2 May 2022

‘ไปให้พ้นจากความยากจน’ บันทึกชีวิตผู้หญิงอีสานในปารีสที่ฝันถึงความเท่าเทียม

เรื่องราวชีวิตแรงงานไทยจากครอบครัวชาวนา ผู้พลัดอีสานมาอยู่ปารีสนาน 20 ปี โดยเริ่มต้นจากการเป็นแรงงานผิดกฎหมาย ทำงานหนัก-เสี่ยง จนได้สัญชาติฝรั่งเศสและก้าวสู่การเป็นเจ้าของกิจการ ทั้งหมดนี้เพื่อการต่อสู้กับความยากจน และแสวงหาคุณภาพชีวิตที่ดีกว่า

วจนา วรรลยางกูร

2 May 2022

Politics

18 Jan 2022

‘Precarious Thailand’ มองอนาคตสังคมไทยจากประวัติศาสตร์กดขี่ กับ อรรถจักร์ สัตยานุรักษ์

101 ชวน อรรถจักร์ สัตยานุรักษ์ อาจารย์ประจำภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มาทำความเข้าใจประวัติศาสตร์สังคมเพื่อร่วมออกแบบอนาคตสังคมไทย

กองบรรณาธิการ

18 Jan 2022

Social Issues

22 Nov 2021

เพราะที่สุดแห่งความขัดสน คือความยากจนทางการเรียนรู้

‘ความยากจนทางการเรียนรู้’ คืออะไร? ชลิดา หนูหล้า ชวนสำรวจนิยาม สถานการณ์ ผลกระทบ และแนวทางขจัดความยากจนทางการศึกษาให้หมดไป

ชลิดา หนูหล้า

22 Nov 2021

Life & Culture

21 Sep 2021

[ความน่าจะอ่าน] ‘เศรษฐศาสตร์ความจน’ ทำความเข้าใจความจน ก้าวพ้นมายาคติ

อิสร์กุล อุณหเกตุ เขียนถึงหนังสือ ‘เศรษฐศาสตร์ความจน’ (Poor Economics) ผลงานจากสองนักเศรษฐศาสตร์รางวัลโนเบล 1 ใน 11 Top Highlights ‘ความน่าจะอ่าน 2021’ ว่าด้วยมายาคติที่ฝังลึกเกี่ยวกับความยากจน และการก้ามข้ามกับดักความจน

อิสร์กุล อุณหเกตุ

21 Sep 2021

Economy

7 Sep 2021

คนจนอยู่ไหน? ส่องดาต้าใหม่ๆ ในการตามหาคนจนยามวิกฤต

ภัทชา ด้วงกลัด พาไปทำความรู้จักนวัตกรรมการเก็บข้อมูล วัดความยากจนรูปแบบใหม่ๆ เพื่อพัฒนานโยบายช่วยคนจนให้ตอบโจทย์และครอบคลุมมากขึ้นในช่วงวิกฤต

ภัทชา ด้วงกลัด

7 Sep 2021

Political Economy

31 Aug 2021

Universal Basic Income: ก้าวสู่อนาคตด้วยสวัสดิการประกันรายได้พื้นฐานถ้วนหน้า กับ ปราชญ์ ปัญจคุณาธร

ในวันที่สังคมฝันถึงนโยบายสวัสดิการ 101 สนทนากับ ปราชญ์ ปัญจคุณาธร Graduate Research Fellow ศูนย์วิจัย Stanford Basic Income Lab และนักศึกษาปริญญาเอก สาขาปรัชญา มหาวิทยาลัย Stanford ว่าด้วย เบื้องหลังหลักคิดในการออกแบบนโยบายสวัสดิการรายได้พื้นฐานถ้วนหน้า ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริงจากการนำนโยบาย UBI ลงไปใช้ในโลกจริง รวมไปถึงความเป็นไปได้ในการริเริ่มนโยบาย UBI ในไทย

ณรจญา ตัญจพัฒน์กุล

31 Aug 2021

Economy

22 Sep 2020

ยิ่งจน ยิ่งเจ็บ: ราคาที่ต้องจ่ายของการป้องกันโรคระบาด

วรรณพงษ์ ดุรงคเวโรจน์ เขียนถึง ‘ความเสี่ยง’ และ ‘ต้นทุน’ ของมาตรการป้องกันโรคระบาด ซึ่ง ‘คนจน’ คือผู้แบกรับมากที่สุด

วรรณพงษ์ ดุรงคเวโรจน์

22 Sep 2020

Social Problems

13 May 2020

5 กุญแจสำคัญ สำหรับการพาแรงงานไทยฝ่าฟัน Technology Disruption

ภาวรรณ ธนาเลิศสมบูรณ์ สรุป 5 เรื่องสำคัญที่เราควรตระหนักเพื่อช่วยแรงงานไทยรับมือกระแสความเปลี่ยนแปลงจากเทคโนโลยี ก่อนที่ปัญหาความเหลื่อมล้ำและคนตกงานสาหัสกว่าเดิม

ภาวรรณ ธนาเลิศสมบูรณ์

13 May 2020

Illustration and Infographics

28 Jan 2020

การศึกษาโลกสะท้อนไทย ความเหลื่อมล้ำที่ยังไม่หายไป

101 ชวนคุณส่องเทรนด์การศึกษาในศตวรรษที่ 21 ผ่านรายงานของ World Bank Group ว่าด้วยภาพรวมการศึกษาโลก วิกฤตการเรียนรู้ และทักษะที่จำเป็นนอกห้องเรียน

กองบรรณาธิการ

28 Jan 2020

World

6 Jan 2020

เศรษฐศาสตร์การเมืองว่าด้วยการพัฒนาประชาธิปไตยสมัยใหม่ในลาตินอเมริกา

เชาวฤทธิ์ เชาว์แสงรัตน์ หาคำตอบจากข้อถกเถียงที่ว่า ‘ปัจจัยทางเศรษฐกิจ’ ส่งผลต่อกระบวนการพัฒนาประชาธิปไตยอย่างไร โดยวิเคราะห์ผ่านตัวอย่างจากประเทศต่างๆ ในลาตินอเมริกา

เชาวฤทธิ์ เชาว์แสงรัตน์

6 Jan 2020
1 2

RECOMMENDED

Social Issues

17 Feb 2017

อ่านข่าวออนไลน์จากสำนักไหน ใครจำได้บ้าง

แน่นอน คนเราอ่านข่าวออนไลน์กันมากขึ้น แต่เราจำได้หรือเปล่าว่าข่าวไหนมาจากสำนักไหน ใครวิเคราะห์อะไรบ้าง ได้ตามข่าวไหนต่อเป็นพิเศษหรือเปล่า วิธีอ่านข่าวออนไลน์ของเราเป็นอย่างไร

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Social Issues

17 Feb 2017

น้ำแข็งขั้วโลกหดตัวต่ำสุดในประวัติศาสตร์ ไม่ใช่แค่ขั้วเดียว-แต่ทั้งสองขั้วเลย!

ขั้วโลกเหนือเป็นฤดูหนาว ขั้วโลกใต้เป็นฤดูร้อน แต่ที่เหมือนกันก็คือ ไม่ว่าจะหนาวจะร้อน ทั้งสองขั้วโลกต่างมีอาการ ‘น้ำแข็งหดตัว’ จนเกิดสถิติใหม่อย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อนด้วยกันทั้งคู่!

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Life & Culture

20 Feb 2017

พื้นที่สาธารณะ พื้นที่ของใครกันแน่?

ดัชนีชี้วัดความสุขประชากรในเมืองขึ้นอยู่กับอะไรบ้าง ห้างสวยแอร์เย็น รถไฟฟ้าไร้โฆษณา หรือจริงๆ มนุษย์เมืองล้วนต้องการพื้นที่สาธารณะที่เป็น ‘สาธารณะ’ จริงๆ

เทพพิทักษ์ มณีพงษ์

20 Feb 2017