fbpx

Politics

7 Dec 2023

ตากใบ (ยัง) ไม่ให้อภัย จนกว่าเสียงร่ำไห้ใต้ฮิญาบจะสิ้นสุด

101 ชวนสำรวจเรื่องเล่าจากตากใบผ่านปากคำผู้ได้รับผลกระทบและครอบครัว ทั้งการอยู่กับความสูญเสีย การพยายามทำความเข้าใจโศกนาฏกรรมที่เกิดขึ้น การถูกกดดันคุกคามจากรัฐให้เงียบเสียงลง

วจนา วรรลยางกูร

7 Dec 2023

Media

16 Oct 2023

Research and Policy Dialogue: ตั้งโจทย์+ตอบอนาคต ประเทศไทยในบริบทโลกใหม่ #3 “ความ(ไม่)มั่นคงในโลกใหม่”

ทบทวนและหานิยามใหม่ของ ‘ความมั่นคง’ ที่สอดรับกับความเปลี่ยนแปลงของโลก เพื่อหาคำตอบว่า อะไรคือความมั่นคงและความเสี่ยงของไทยในบริบทโลกใหม่ และเราควรมียุทธศาสตร์ด้านความมั่นคงอย่างไรที่จะนำไปสู่การป้องกันภัยคุกคาม จัดการความเสี่ยง และเก็บเกี่ยวโอกาสแห่งอนาคต

กองบรรณาธิการ

16 Oct 2023

World

15 Jun 2023

ยุทธศาสตร์ป้องกันความเสี่ยงด้านความมั่นคง: จะไม่ฝักใฝ่ฝ่ายใดหรือฝักใฝ่ไปเสียทุกฝ่ายดี?

สุภลักษณ์ กาญจนขุนดี เขียนถึงยุทธศาสตร์ป้องกันความเสี่ยงด้านความมั่นคงของไทย เมื่อมีรัฐบาลใหม่แล้วควรใช้ยุทธศาสตร์แบบใด

สุภลักษณ์ กาญจนขุนดี

15 Jun 2023

Kid For Kids

22 Dec 2022

อุปสรรคของเยาวชนชายแดนใต้ ในกำแพงของความมั่นคง : ข้อมูลจากการสำรวจเยาวชน 2022

เด็กและเยาวชนในพื้นที่ชายแดนใต้ยังถูกคุกคามจากรัฐ และเผชิญปัญหาด้านรายได้ การศึกษา และสุขภาพ แต่เยาวชนกลุ่มนี้ยังคงมีหวังกับการเมืองในพื้นที่

กษิดิ์เดช คำพุช

22 Dec 2022

Global Affairs

5 Aug 2021

ตามแนวคิด-ต่อทฤษฎี จากงานการต่างประเทศไทยของพีระ เจริญวัฒนนุกูล (ตอนที่ 1)

ศุภมิตร ปิติพัฒน์ชวนอ่านแนวคิด ‘ความมั่นคงเชิงภวสภาพ’ ที่มองว่าปัญหาความมั่นคงของรัฐเชื่อมโยงกับแผลในใจของสังคมที่รู้สึกว่าเกียรติภูมิของประเทศชาติบ้านเมืองของตนถูกกระทบกระทั่งโดยอำนาจภายนอกที่เหนือกว่าเข้ามาบังคับ

ศุภมิตร ปิติพัฒน์

5 Aug 2021

World

7 Jun 2021

ความเป็นชาติ อธิปไตย และความสัมพันธ์ระหว่างอำนาจของรัฐ: เมื่อทหารพม่ายิง ตชด. ไทย

ขวัญข้าว คงเดชา ตั้งคำถามต่อท่าทีของไทยหลังจากทหารพม่ายิงเรือตำรวจตระเวนชายแดนที่กำลังปฏิบัติหน้าที่อยู่ในน่านน้ำฝั่งไทย

ขวัญข้าว คงเดชา

7 Jun 2021

Asia

13 Oct 2020

เมื่อญี่ปุ่นเริ่มขบคิดเรื่องการติดอาวุธจู่โจม

ธีวินท์ สุพุทธิกุล ชวนอ่านเรื่องการติดอาวุธจู่โจม (strike capability) ในญี่ปุ่น – อะไรคือข้อจำกัดที่ทำให้ญี่ปุ่นไม่อาจคิดที่จะมีสมรรถนะด้านนี้มาก่อน และปัจจัยใดที่ทำให้ญี่ปุ่นเริ่มมองเรื่องการติดอาวุธจู่โจมเป็นตัวเลือกเชิงยุทธศาสตร์ในเวลานี้

ธีวินท์ สุพุทธิกุล

13 Oct 2020

Media

26 Sep 2020

101 In Focus Ep. 58 : โลกความมั่นคงหลัง 9/11

101 In Focus สัปดาห์นี้ ชวนคุณผู้ฟังสำรวจโลกความมั่นคงหลัง 9/11 ว่าเหตุการณ์ดังกล่าวได้เปลี่ยนโฉมการมองและนิยามความมั่นคงไปอย่างไร อะไรคือตัวอย่างของภัยความมั่นคงรูปแบบใหม่ที่โลกจะต้องเผชิญบ้าง

กองบรรณาธิการ

26 Sep 2020

Social Issues

6 May 2020

ทรมานที่ถูก “แปรรูป” ในพื้นที่ชายแดนใต้

เมื่อการทรมานด้วยข้ออ้างด้านความมั่นคง ไม่ได้พุ่งเป้าไปที่ร่างกายเพียงอย่างเดียว แต่แปรรูปมากระทำที่จิตใจ ผลกระทบที่ค้างภายในจึงกลายเป็นบาดแผลทางใจเรื้อรัง

ชนาธิป ตติยการุณวงศ์

6 May 2020

Global Affairs

7 Apr 2020

COVID-19 และความมั่นคงระหว่างประเทศที่ถูกท้าทาย

ฟูอาดี้ พิศสุวรรณ ตั้งข้อสังเกตถึงผลกระทบด้านความมั่นคงและการเมืองระหว่างประเทศของวิกฤตการณ์ COVID-19 ที่กลายเป็นภัยคุกคามแบบใหม่

ฟูอาดี้ พิศสุวรรณ

7 Apr 2020

Thai Politics

14 Feb 2020

บทเรียน 30 ประการ : วินาทีที่เกิดเหตุกราดยิง เราจะตื่นจากฝันร้ายได้อย่างไร

สรุปบทเรียน 30 ประการ จากมุมมองอาชญาวิทยา, ความมั่นคง, จิตวิทยาเด็กและครอบครัว เพื่อทำความเข้าใจและหาทางเยียวยา-รับมือกับโศกนาฏกรรม

ธิติ มีแต้ม

14 Feb 2020

Global Affairs

24 Dec 2019

โลก 2019 : ก้าวต่อไปของ (ความไร้) ระเบียบโลกใหม่ บนสมรภูมิการแข่งขันของมหาอำนาจ

กานต์ธีรา ภูริวิกรัย ย้อนมองโลก 2019 เพื่อสำรวจก้าวต่อไปของ (ความไร้) ระเบียบโลกใหม่ บนสมรภูมิการแข่งขันของมหาอำนาจ

กานต์ธีรา ภูริวิกรัย

24 Dec 2019

Thai Politics

18 Oct 2019

กระบวนการประกอบสร้าง ‘ความมั่นคง’ (securitization): แนวคิดและตัวอย่าง

จันจิรา สมบัติพูนศิริ เขียนถึงกระบวนการสร้าง ‘ความมั่นคง’ ของรัฐ ผ่านการศึกษาความมั่นคงระหว่างประเทศ 3 สำนัก ที่ต้องดูคำนิยามว่าเป็นความมั่นคงของใคร และอะไรคือภัยคุกคามที่ต้องรับมือ

จันจิรา สมบัติพูนศิริ

18 Oct 2019

Thai Politics

17 Oct 2019

สนทนากับ ‘ชลิตา บัณฑุวงศ์’ เมื่อฝ่ายความมั่นคงต้องการให้ประชาชนเงียบ

สนทนากับ ‘ชลิตา บัณฑุวงศ์’ นักวิชาการผู้คลุกคลีกับปัญหาสามจังหวัดภาคใต้ แต่ถูกฝ่ายความมั่นคงฟ้อง ม.116 หลังแสดงความเห็นทางวิชาการที่ปัตตานี

ธิติ มีแต้ม

17 Oct 2019

Thai Politics

17 Jul 2019

มหากาพย์คนไร้สัญชาติ ข้ามให้พ้นคำถาม “คนไทยหรือเปล่า” : สุรพงษ์ กองจันทึก

ฟัง ‘สุรพงษ์ กองจันทึก’ ประธานมูลนิธิผสานวัฒนธรรมเล่าปัญหาคนไร้สัญชาติที่เรื้อรังเนิ่นนานมาหลายทศวรรษ ท่ามกลางความมั่นคงที่เดินนำหน้าสิทธิมนุษยชน

ธิติ มีแต้ม

17 Jul 2019
1 2

RECOMMENDED

Social Issues

17 Feb 2017

อ่านข่าวออนไลน์จากสำนักไหน ใครจำได้บ้าง

แน่นอน คนเราอ่านข่าวออนไลน์กันมากขึ้น แต่เราจำได้หรือเปล่าว่าข่าวไหนมาจากสำนักไหน ใครวิเคราะห์อะไรบ้าง ได้ตามข่าวไหนต่อเป็นพิเศษหรือเปล่า วิธีอ่านข่าวออนไลน์ของเราเป็นอย่างไร

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Social Issues

17 Feb 2017

น้ำแข็งขั้วโลกหดตัวต่ำสุดในประวัติศาสตร์ ไม่ใช่แค่ขั้วเดียว-แต่ทั้งสองขั้วเลย!

ขั้วโลกเหนือเป็นฤดูหนาว ขั้วโลกใต้เป็นฤดูร้อน แต่ที่เหมือนกันก็คือ ไม่ว่าจะหนาวจะร้อน ทั้งสองขั้วโลกต่างมีอาการ ‘น้ำแข็งหดตัว’ จนเกิดสถิติใหม่อย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อนด้วยกันทั้งคู่!

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Life & Culture

20 Feb 2017

พื้นที่สาธารณะ พื้นที่ของใครกันแน่?

ดัชนีชี้วัดความสุขประชากรในเมืองขึ้นอยู่กับอะไรบ้าง ห้างสวยแอร์เย็น รถไฟฟ้าไร้โฆษณา หรือจริงๆ มนุษย์เมืองล้วนต้องการพื้นที่สาธารณะที่เป็น ‘สาธารณะ’ จริงๆ

เทพพิทักษ์ มณีพงษ์

20 Feb 2017

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save