fbpx

ความน่าจะอ่าน

27 Dec 2023

ความน่าจะอ่าน : หนังสือชวนอ่านรับปี 2024 โดยคอลัมนิสต์ 101

101 ชวนคอลัมนิสต์กว่า 30 คน ร่วมแนะนำหนังสือคนละเล่มแก่คุณผู้อ่าน ต้อนรับปี 2024 มีอะไรบ้าง ไปดูกันได้เลย !

กองบรรณาธิการ

27 Dec 2023

ความน่าจะอ่าน

19 Oct 2023

ความน่าจะอ่าน 2023 – คำขอบคุณจาก ‘เมาริตซิโอ เปเลจจี’ ผู้เขียน เจ้าชีวิต เจ้าสรรพสิ่ง

เนื่องในโอกาสที่ ‘เจ้าชีวิต เจ้าสรรพสิ่ง’ ของสำนักพิมพ์ฟ้าเดียวกัน ได้รับการโหวตว่าเป็นหนังสือน่าอ่านด้วยคะแนนสูงสุดจากกิจกรรม ‘ความน่าจะอ่าน 2023 – อ่าน 7 ที ดี 7 หน’ เมาริตซิโอ เปเลจจี ผู้เขียนหนังสือจึงขอส่งคำขอบคุณจากอิตาลี ถึงผู้อ่านชาวไทยทุกคน

กองบรรณาธิการ

19 Oct 2023

Spotlights

11 Oct 2023

ความน่าจะอ่าน 2023: การเมือง-วรรณกรรม-คนทำหนังสือ ในยุคสมัยอันเปราะบางและแตกฉานซ่านเซ็น

ส่งท้ายเทศกาลความน่าจะอ่านไปด้วยกัน กับ วงเสวนา ‘ความน่าจะอ่าน 2023 Final Round – อ่าน 7 ที ดี 7 หน’ เพื่อร่วมถกถามและพูดคุยถึงสิ่งที่น่าสนใจจากหนังสือ Top Highlights และภาพรวมของแวดวงนักอ่าน คนทำหนังสือ ท่ามกลางความไม่แน่นอนของสังคมไทย

ภัคจิรา มาตาพิทักษ์

11 Oct 2023

ความน่าจะอ่าน

3 Oct 2023

เปิดความเห็นของนักอ่าน ใน ‘ความน่าจะอ่าน ขวัญใจมหาชน 2023’

เปิดตัวหนังสือ ‘ขวัญใจมหาชน’ ที่อ่าน 7 ที หรือมากกว่า 7 ที ก็ดีไปหมด ประจำปี 2023 จากการโหวตของนักอ่าน ใน ‘ความน่าจะอ่าน 2023’

กองบรรณาธิการ

3 Oct 2023

ความน่าจะอ่าน

28 Sep 2023

เสวนาความน่าจะอ่าน 2023 – อ่าน 7 ที ดี 7 หน

ส่งท้าย ‘ความน่าจะอ่าน 2023 – อ่าน 7 ที ดี 7 หน’ ด้วยวงเสวนาจากคนทำหนังสือและนักวิชาการ มองภาพรวมแวดวงการอ่านและสังคมการเมืองไทยผ่านหนังสือขวัญใจในปี 2023

กองบรรณาธิการ

28 Sep 2023

Spotlights

28 Sep 2023

[ความน่าจะอ่าน] ‘เดินหน้าสู่อดีต’: พล็อตภาพยนตร์ที่ยังไม่จบของประวัติศาสตร์ไทยร่วมสมัย

สมคิด พุทธศรี รีวิว ‘ประวัติศาสตร์ไทยร่วมสมัย’ (ฉบับปรับปรุง) ของคริส เบเกอร์ และผาสุก พงษ์ไพจิตร ที่ติดอันดับ Top Highlights ความน่าจะอ่าน 2023

สมคิด พุทธศรี

28 Sep 2023

Life & Culture

25 Sep 2023

[ความน่าจะอ่าน] ‘แม่ง โคตรโฟนี่เลย’ คำสบถในโลกที่การตอแหลเป็นเรื่องปกติ

วนะ วรรลยางกูร เขียนถึง ‘แม่ง โคตรโฟนี่เลย’ หนังสือรวมปาฐกถาว่าด้วยการเมืองของไอดา อรุณวงศ์ หนังสือที่ติดท็อปไฮไลต์ ความน่าจะอ่าน 2023

วนะ วรรลยางกูร

25 Sep 2023

Life & Culture

22 Sep 2023

[ความน่าจะอ่าน] โลกแห่งความเป็นจริงและโลกแห่งความเป็นเจ็บใน ‘เราต่างงดงามแล้วจางหาย’

ณัฐชานันท์ กล้าหาญ เขียนถึง ‘เราต่างงดงามแล้วจางหาย’ ที่เขียนโดยโอเชียน วอง จดหมายของลูกชายถึงแม่ผู้อ่านหนังสือไม่ออก เล่าถึงความสัมพันธ์แม่ลูก และบาดแผลในช่วงเวลาสงครามในเวียดนาม

ณัฐชานันท์ กล้าหาญ

22 Sep 2023

Life & Culture

21 Sep 2023

[ความน่าจะอ่าน] 1000 ปีแห่งความรื่นรมย์และขมขื่น: บันทึกความทรงจำเบื้องหลังมรดกแห่งอุดมการณ์จากรุ่นพ่อสู่รุ่นลูก ของศิลปินหัวขบถผู้ท้าทายอำนาจรัฐ อ้าย เว่ยเว่ย

ภาณุ บุญพิพัฒนาพงศ์ เขึยนถึงหนังสือ ‘1000 ปีแห่งความรื่นรมย์และขมขื่น’ หนังสือติดท็อปไฮไลต์ความน่าจะอ่าน 2023 ว่าด้วยชีวิตและการต่อสู้ของอ้าย เว่ยเว่ย ศิลปินชาวจีนผู้ทรงอิทธิพลที่สุดคนหนึ่งในโลกยุคปัจจุบัน และเป็นบุคคลที่ถูกทางการจีนหมายหัวมากที่สุดคนหนึ่ง

ภาณุ บุญพิพัฒนาพงศ์

21 Sep 2023

Life & Culture

19 Sep 2023

[ความน่าจะอ่าน] บันทึกความทรงจำต่อ ‘เจ้าชีวิต เจ้าสรรพสิ่ง: การก่อร่างภาพลักษณ์สมัยใหม่ของสถาบันกษัตริย์สยาม’

อรรถ บุนนาค เขียนบันทึกความทรงจำถึงหนังสือเรื่อง ‘เจ้าชีวิต เจ้าสรรพสิ่ง’ ที่ได้รับเลือกสูงสุดใน ‘ความน่าจะอ่าน 2023’ ย้อนถึงสมัยเป็นนักศึกษาที่ญี่ปุ่น ที่อาจารย์ใช้วิทยานิพนธ์เล่มนี้ในการสอนประวัติศาสตร์ไทย

อรรถ บุนนาค

19 Sep 2023

ความน่าจะอ่าน

17 Sep 2023

เปิดโผ ‘Top Highlights’ ความน่าจะอ่าน 2023

ถึงคราวประกาศรายชื่อหนังสือซึ่งได้รับการแนะนำเข้ามามากที่สุดว่าเป็นหนังสือดี อ่านกี่ที ก็ดีทุกหน ของความน่าจะอ่าน ประจำปี 2023

กองบรรณาธิการ

17 Sep 2023

Life & Culture

8 Sep 2023

ความน่าจะอ่าน 2023 : หนังสือที่ดี อ่านกี่ที ก็ดีทุกหน

กลับมาอีกครั้งกับ ‘ความน่าจะอ่าน 2023 – อ่าน 7 ที ดี 7 หน’ เพราะเราเชื่อว่าหนังสือที่ดี อ่านกี่ที ย่อมมอบความรู้สึกน่าจดจำแก่ผู้อ่านได้อย่างเสมอต้นเสมอปลาย

ภาวรรณ ธนาเลิศสมบูรณ์

8 Sep 2023
1 2 7

RECOMMENDED

Social Issues

17 Feb 2017

อ่านข่าวออนไลน์จากสำนักไหน ใครจำได้บ้าง

แน่นอน คนเราอ่านข่าวออนไลน์กันมากขึ้น แต่เราจำได้หรือเปล่าว่าข่าวไหนมาจากสำนักไหน ใครวิเคราะห์อะไรบ้าง ได้ตามข่าวไหนต่อเป็นพิเศษหรือเปล่า วิธีอ่านข่าวออนไลน์ของเราเป็นอย่างไร

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Social Issues

17 Feb 2017

น้ำแข็งขั้วโลกหดตัวต่ำสุดในประวัติศาสตร์ ไม่ใช่แค่ขั้วเดียว-แต่ทั้งสองขั้วเลย!

ขั้วโลกเหนือเป็นฤดูหนาว ขั้วโลกใต้เป็นฤดูร้อน แต่ที่เหมือนกันก็คือ ไม่ว่าจะหนาวจะร้อน ทั้งสองขั้วโลกต่างมีอาการ ‘น้ำแข็งหดตัว’ จนเกิดสถิติใหม่อย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อนด้วยกันทั้งคู่!

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Life & Culture

20 Feb 2017

พื้นที่สาธารณะ พื้นที่ของใครกันแน่?

ดัชนีชี้วัดความสุขประชากรในเมืองขึ้นอยู่กับอะไรบ้าง ห้างสวยแอร์เย็น รถไฟฟ้าไร้โฆษณา หรือจริงๆ มนุษย์เมืองล้วนต้องการพื้นที่สาธารณะที่เป็น ‘สาธารณะ’ จริงๆ

เทพพิทักษ์ มณีพงษ์

20 Feb 2017