fbpx

หนังนอกรอบ

29 Jan 2024

Six Feet Under: เมื่อพูดถึงความตาย มนุษย์มักไม่คิดถึงสิ่งที่จบสิ้น แต่กลับคิดถึงสิ่งที่ยังไม่จบ

คอลัมน์ ‘หนังนอกรอบ’ ชวนครุ่นคิดเรื่อง ‘ความตาย’ ในซีรีส์ Six Feet Under ที่ชวนผู้ชมกลับมาตั้งคำถามต่อถึง ‘การมีอยู่’

วจนา วรรลยางกูร

29 Jan 2024

Life & Culture

8 Nov 2022

‘เกิด แก่ เจ็บ ตาย’ ในวงจรนโยบายสาธารณะ

นพ.สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์ เขียนถึงการ ‘เกิด แก่ เจ็บ ตาย’ ในนโยบายสาธารณะ ที่รัฐเข้ามามีส่วนจัดการชีวิตประชาชน ซึ่งมีความซับซ้อนหลายด้าน

สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์

8 Nov 2022

Life & Culture

28 Oct 2022

แก่ให้ช้า เจ็บให้สั้น ตายให้ไว: นิยามใหม่ของคุณภาพชีวิตที่ดี

คอลัมน์ ‘สารกันเบื่อ’ เดือนนี้ เอกศาสตร์ สรรพช่าง เขียนถึง ความหมายของคุณภาพชีวิตที่ดีที่เปลี่ยนไปในยุคสมัยที่โลกกำลังเข้าสู่สังคมสูงวัย

เอกศาสตร์ สรรพช่าง

28 Oct 2022

Life & Culture

14 Jul 2022

“ความตายคือการเดินทางของทั้งคนตายและคนที่ยังอยู่” นิติ ภวัครพันธุ์

คุยกับนิติ ภวัครพันธุ์ ว่าด้วยเรื่องพิธีกรรมการส่งคนตายในมุมนักมานุษยวิทยา พิธีกรรมของความตายมีความหมายแค่ไหน คุณค่าของการตายและการมีชีวิตอยู่ต่างกันอย่างไร

ปาณิส โพธิ์ศรีวังชัย

14 Jul 2022

Documentary

4 Jul 2022

The Last Journey พิธีแห่งความตาย

101 เสนอสารคดีว่าด้วยความหมายของความตาย คุณค่าของพิธีกรรม การรับมือกับความสูญเสีย และวิธีดำเนินไปของคนที่ยังมีชีวิต ผ่านเรื่องราวของผู้คนหลากหลาย ทั้งคนไร้บ้าน สัปเหร่อ และผู้ที่สูญเสียพ่อจากโควิด

กองบรรณาธิการ

4 Jul 2022

Life & Culture

24 May 2022

Life After Life พินิจคิดเรื่องตาย

คอลัมน์ สารกันเบื่อ เดือนนี้ เอกศาสตร์ สรรพช่าง เขียนถึง ความก้าวหน้าในการหาคำตอบว่า ‘ชีวิตหลังความตาย’ เป็นอย่างไร และความพยายามของมนุษย์ในการเอาชนะความตายด้วยเทคโนโลยี

เอกศาสตร์ สรรพช่าง

24 May 2022

Life & Culture

24 Dec 2021

101 Gaze Ep.6 “Well-dying หากความตายคือ ‘ชีวิต’ วันสุดท้ายที่มีคุณภาพ”

101 Gaze ชวนเปิดบทสนทนาว่าด้วยเรื่องความตายและความหมายของชีวิต ทำความรู้จักการรักษาแบบประคับประคองและการจัดการชีวิตในวาระสุดท้ายเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีที่สุด พูดคุยกับ ผศ.คมกฤช อุ่ยเต็กเค่ง อาจารย์ประจำภาควิชาปรัชญา คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร และ ศ.นพ.ดร.อิศรางค์ นุชประยูร จากคลินิกกุมารชีวาภิบาล ภาควิชากุมารเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

กองบรรณาธิการ

24 Dec 2021

Media

2 Sep 2021

101 In Focus Ep.95 : เมื่อโรคระบาดทำให้เราไม่อาจตายดี

เพราะความตายไม่ได้เป็นเรื่องของปัจเจก 101 In Focus สัปดาห์นี้ชวนคุยกันเรื่องความตายที่เปลี่ยนแปลงไปในสถานการณ์โรคระบาด ตลอดจนสิ่งที่รัฐต้องวางแผนเพื่อรับมือกับความตายในอนาคต

กองบรรณาธิการ

2 Sep 2021

Life & Culture

26 Aug 2021

มรณกรรม(เลิก)อำพราง : สนทนาเรื่องความตายกับ ‘ภาวิกา ศรีรัตนบัลล์’ ในวันที่โรคระบาดทำให้เราไม่อาจตายดี

101 สนทนากับภาวิกา ศรีรัตนบัลล์ ถึงความตายและวิถีการตายที่เปลี่ยนไปเพราะโควิด-19 ผลกระทบที่เกิดขึ้น และอนาคตที่รัฐต้องวางแผนรับมือเพื่อการตายที่ดี

ภาวรรณ ธนาเลิศสมบูรณ์

26 Aug 2021

Social Issues

4 Aug 2021

เรามีเด็กกำพร้าเพราะโควิดเพิ่มขึ้นเท่าไรแล้ว

นพ.ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ์ ชวนคิดถึงปัญหาต่อเนื่องจากความสูญเสียที่เกิดจากโรคระบาด เมื่อเด็กๆ ต้องกลายเป็นเด็กกำพร้า นำไปสู่คำถามว่าจะดูแลเด็กๆ เหล่านี้อย่างไร

ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ์

4 Aug 2021

Life & Culture

24 May 2021

For My Final Journey : ออกแบบความตายอย่างเข้าใจด้วยเทคโนโลยี

เพราะความตายคือสัจธรรมที่ไม่ว่าใครก็ไม่อาจเลี่ยงได้ คอลัมน์ Third – Eye View สัปดาห์นี้ Eyedropper Fill ชวนไปทำความรู้จักและเข้าใจความตายผ่านแพลตฟอร์มและนวัตกรรม AI เพื่อที่เราจะได้รับมือกับความตายได้อย่างสงบสุข

อายดรอปเปอร์ ฟิลล์

24 May 2021

Health

29 Apr 2020

บทเรียนจากความตาย

ภาคิน นิมมานนรวงศ์ เขียนถึงสิ่งที่ความตายและกระบวนการสู่ความตายให้บทเรียนกับเรา ผ่านหนังสือ ‘วาระสุดท้าย: คู่มือสบตาความตายอย่างอบอุ่นและซื่อตรง’ โดยแซลลี ทิสเดล

ภาคิน นิมมานนรวงศ์

29 Apr 2020

Social Problems

6 Apr 2020

ความตาย ก. : จินตนาการต่อความวิตกกังวล

นิติ ภวัครพันธุ์ เขียนถึงจินตนาการเกี่ยวกับความตายและชีวิตหลังความตายของมนุษย์ ผ่านความเชื่อ พิธีกรรม และเรื่องเล่าของมนุษย์ต่างถิ่นต่างวัฒนธรรม

นิติ ภวัครพันธุ์

6 Apr 2020
1 2

RECOMMENDED

Social Issues

17 Feb 2017

อ่านข่าวออนไลน์จากสำนักไหน ใครจำได้บ้าง

แน่นอน คนเราอ่านข่าวออนไลน์กันมากขึ้น แต่เราจำได้หรือเปล่าว่าข่าวไหนมาจากสำนักไหน ใครวิเคราะห์อะไรบ้าง ได้ตามข่าวไหนต่อเป็นพิเศษหรือเปล่า วิธีอ่านข่าวออนไลน์ของเราเป็นอย่างไร

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Social Issues

17 Feb 2017

น้ำแข็งขั้วโลกหดตัวต่ำสุดในประวัติศาสตร์ ไม่ใช่แค่ขั้วเดียว-แต่ทั้งสองขั้วเลย!

ขั้วโลกเหนือเป็นฤดูหนาว ขั้วโลกใต้เป็นฤดูร้อน แต่ที่เหมือนกันก็คือ ไม่ว่าจะหนาวจะร้อน ทั้งสองขั้วโลกต่างมีอาการ ‘น้ำแข็งหดตัว’ จนเกิดสถิติใหม่อย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อนด้วยกันทั้งคู่!

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Life & Culture

20 Feb 2017

พื้นที่สาธารณะ พื้นที่ของใครกันแน่?

ดัชนีชี้วัดความสุขประชากรในเมืองขึ้นอยู่กับอะไรบ้าง ห้างสวยแอร์เย็น รถไฟฟ้าไร้โฆษณา หรือจริงๆ มนุษย์เมืองล้วนต้องการพื้นที่สาธารณะที่เป็น ‘สาธารณะ’ จริงๆ

เทพพิทักษ์ มณีพงษ์

20 Feb 2017

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save