fbpx

Politics

7 Dec 2023

ตากใบ (ยัง) ไม่ให้อภัย จนกว่าเสียงร่ำไห้ใต้ฮิญาบจะสิ้นสุด

101 ชวนสำรวจเรื่องเล่าจากตากใบผ่านปากคำผู้ได้รับผลกระทบและครอบครัว ทั้งการอยู่กับความสูญเสีย การพยายามทำความเข้าใจโศกนาฏกรรมที่เกิดขึ้น การถูกกดดันคุกคามจากรัฐให้เงียบเสียงลง

วจนา วรรลยางกูร

7 Dec 2023

Thai Politics

26 May 2023

101 In Focus Ep.179 : ‘ความยุติธรรมในระยะเปลี่ยนผ่าน’ โจทย์เปลี่ยนผ่านการเมืองของรัฐบาลประชาธิปไตย

101 In Focus สัปดาห์นี้ สนทนาว่าด้วย ‘ความยุติธรรมในระยะเปลี่ยนผ่าน’ ที่อาจเป็นทางออกให้กับสังคมที่ผ่านความขัดแย้งและความรุนแรงมาอย่างยาวนาน

กองบรรณาธิการ

26 May 2023

Politics

5 May 2023

ไปให้ไกลกว่า ‘นิรโทษกรรม’ พาสังคมไทยเปลี่ยนผ่านสู่ความยุติธรรม

แค่ ‘ก้าวข้ามความขัดแย้ง’ หรือ ‘นิรโทษกรรม’ ยังไม่พอ 101 PUB ชวนทำความเข้าใจ ‘ความยุติธรรมในระยะเปลี่ยนผ่าน’ พร้อมข้อเสนอสู่ทางออกจากวงจรความรุนแรงในการเมืองไทยที่ไม่เพิกเฉยต่อความยุติธรรม

เจณิตตา จันทวงษา

5 May 2023

US

1 Dec 2022

อเมริกันขวา ‘ชังชาติ’ ไหม: การเมืองวัฒนธรรมในอเมริกาเปรียบเทียบ

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ เปรียบเทียบปัจจัยการใช้ความรุนแรงต่อผู้เห็นต่างทางการเมืองระหว่างไทยและอเมริกา

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ

1 Dec 2022

Social Problems

19 Oct 2022

มายาการแห่งอัตลักษณ์: ความหลงผิดว่าด้วยอัตลักษณ์กับการแยกขั้วแยกข้างในสังคม

ชญานิษฐ์ พูลยรัตน์ อธิบายถึง ‘มายาการแห่งอัตลักษณ์’ ซึ่งทำให้คนหลงในอัตลักษณ์ตนเอง และแบ่งแยกคนอื่น จนนำไปสู่ความขัดแย้งร้าวลึกในสังคม

ชญานิษฐ์ พูลยรัตน์

19 Oct 2022

World

28 Jun 2022

‘ชาตินิยมที่มากล้น’ กับต้นทุนทางการเมืองและเศรษฐกิจที่อินเดียต้องแบกรับ

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก เขียนถึงนโยบายชาตินิยมฮินดูของพรรครัฐบาลอินเดีย ที่ส่งผลให้เกิดความขัดแย้งร้าวลึกระหว่างชาว ‘ฮินดู’ และ ‘มุสลิม’ ซึ่งประเด็นนี้มีรากทางประวัติศาสตร์มายาวนาน

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก

28 Jun 2022

Life & Culture

12 Jul 2021

บราซิล – อาร์เจนตินา : การเมือง สังคม และภาษา สู่ความเหม็นขี้หน้าในสนามฟุตบอล

คอลัมน์ The Rivalry เดือนนี้ สมศักดิ์ จันทวิชชประภา พาไปรู้จักประวัติศาสตร์ความขัดแย้งระดับชาติระหว่าง ‘บราซิล’ และ ‘อาร์เจนตินา’ สองมหาอำนาจลูกหนัง ที่มีเรื่องราวมากมายกว่าที่เห็นบนฟลอร์หญ้า

สมศักดิ์ จันทวิชชประภา

12 Jul 2021

World

7 Apr 2021

ประจานให้ได้เจ็บ: Doxxing วิธี (ไม่) ใหม่ในการปิดปากผู้เห็นต่าง

พรรษาสิริ กุหลาบ เขียนถึง doxxing (หรือ doxing) การจงใจรวบรวมและเผยแพร่ข้อมูลส่วนตัวของคนหรือกลุ่มคน ซึ่งกลายมาเป็นอาวุธโจมตีผู้เห็นต่างในสนามความขัดแย้ง

พรรษาสิริ กุหลาบ

7 Apr 2021

Democracy

25 Nov 2020

เอกพันธุ์ ปิณฑวณิช : สู่ทางออกจากความขัดแย้ง สังคมต้องเผชิญความจริง

101 คุยกับ เอกพันธุ์ ปิณฑวณิช ถึงทางออกจากความขัดแย้งในสังคมไทยและแนวทางสันติวิธีของผู้ประท้วง

วจนา วรรลยางกูร

25 Nov 2020

Thai Politics

12 Nov 2020

การเมืองทำให้โง่?

นำชัย ชีววิวรรธน์ เปิดงานวิจัย เพราะอะไรการเมืองจึงทำให้เราโง่ และเพราะเหตุใดการถกเถียงด้วยเหตุผลในเรื่องทางการเมืองจึงมักไม่สัมฤทธิ์ผล

นำชัย ชีววิวรรธน์

12 Nov 2020

Spotlights

20 Oct 2020

เราจะคุยกันอย่างไรในความขัดแย้ง? เรียนรู้การสื่อสารอย่างเข้าใจ กับ ‘ดุจดาว วัฒนปกรณ์’

101 พูดคุยกับ ดุจดาว วัฒนปกรณ์ ว่าเราจะทำความเข้าใจกันได้อย่างไร ท่ามกลางความเห็นต่างในทุกพื้นที่ของสังคมไทย

ปรัชญพล เลิศวิชา

20 Oct 2020

World

23 Sep 2020

บัญญัติ 7 ประการของฮิตเลอร์กับสงครามแย่งชิงมวลชน

วันชัย ตันติวิทยาพิทักษ์ เขียนถึงหลักพื้นฐาน 7 ประการของการทำโฆษณาชวนเชื่อที่พรรคนาซีใช้จนสามารถปลุกระดมมวลชนให้คล้อยตามผู้มีอำนาจได้

วันชัย ตันติวิทยาพิทักษ์

23 Sep 2020

Life & Culture

31 Aug 2020

กษัตริย์-คนนอก-การดูถูก: ราคาที่ราชาต้องจ่าย

คอลัมน์ สารกันเบื่อ เดือนนี้ เอกศาสตร์ สรรพช่าง เขียนถึงความปกติสามัญของการดูถูกและการกีดกัน ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของสังคมมนุษย์ทุกยุคสมัยและทุกชนชั้น

เอกศาสตร์ สรรพช่าง

31 Aug 2020

Thai Politics

26 Aug 2019

‘แด่สันติสุขและความมั่นคง’ ชายแดนใต้กับการแก้ปัญหาที่ไม่พูดถึงสาเหตุ

วจนา วรรลยางกูร เรียบเรียงการพูดคุยจากวงเสวนา ‘สันติภาพจังหวัดชายแดนใต้ (จชต.): โอกาสการขยายตัวของความรุนแรงและบทบาทคนนอก’ อันสะท้อนภาพรวมกระบวนการพูดคุยสันติภาพที่ดำเนินอย่างเชื่องช้าจากแง่มุมต่างๆ

วจนา วรรลยางกูร

26 Aug 2019
1 2

RECOMMENDED

Social Issues

17 Feb 2017

อ่านข่าวออนไลน์จากสำนักไหน ใครจำได้บ้าง

แน่นอน คนเราอ่านข่าวออนไลน์กันมากขึ้น แต่เราจำได้หรือเปล่าว่าข่าวไหนมาจากสำนักไหน ใครวิเคราะห์อะไรบ้าง ได้ตามข่าวไหนต่อเป็นพิเศษหรือเปล่า วิธีอ่านข่าวออนไลน์ของเราเป็นอย่างไร

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Social Issues

17 Feb 2017

น้ำแข็งขั้วโลกหดตัวต่ำสุดในประวัติศาสตร์ ไม่ใช่แค่ขั้วเดียว-แต่ทั้งสองขั้วเลย!

ขั้วโลกเหนือเป็นฤดูหนาว ขั้วโลกใต้เป็นฤดูร้อน แต่ที่เหมือนกันก็คือ ไม่ว่าจะหนาวจะร้อน ทั้งสองขั้วโลกต่างมีอาการ ‘น้ำแข็งหดตัว’ จนเกิดสถิติใหม่อย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อนด้วยกันทั้งคู่!

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Life & Culture

20 Feb 2017

พื้นที่สาธารณะ พื้นที่ของใครกันแน่?

ดัชนีชี้วัดความสุขประชากรในเมืองขึ้นอยู่กับอะไรบ้าง ห้างสวยแอร์เย็น รถไฟฟ้าไร้โฆษณา หรือจริงๆ มนุษย์เมืองล้วนต้องการพื้นที่สาธารณะที่เป็น ‘สาธารณะ’ จริงๆ

เทพพิทักษ์ มณีพงษ์

20 Feb 2017

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save