fbpx

Life & Culture

8 Apr 2024

90 ปี ไพจิตร ปวะบุตร: ขี่ม้าข้ามคืน สร้างระบบสุขภาพไทยข้ามยุค

นพ.สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์ เขียนถึงสิ่งที่ได้เรียนรู้จาก ศ.พิเศษ นพ.ไพจิตร ปวะบุตร อดีตปลัดกระทรวงสาธารณสุข ในวาระครบรอบ 90 ปี เมื่อ 7 เมษายน 2567

สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์

8 Apr 2024

Life & Culture

1 Jun 2023

ความจริงนโยบายสาธารณสุข โจทย์ท้าทายรัฐบาลหลังเลือกตั้ง: ตอนที่ 3 การรวมกองทุน, การเพิ่มสิทธิประโยชน์ และการเอาระบบสุขภาพสร้างรายได้ให้ประเทศ

โจทย์นโยบายสาธารณสุขตอนที่สามของ นพ.สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์ ว่าด้วยการรวมกองทุน การเพิ่มสิทธิประโยชน์สารพัด และการเอาศักยภาพระบบสุขภาพมาสร้างรายได้ให้ประเทศ

สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์

1 Jun 2023

Life & Culture

24 May 2023

ความจริงนโยบายสาธารณสุข โจทย์ท้าทายรัฐบาลหลังเลือกตั้ง: ตอนที่ 2 บริการยามเจ็บป่วยฉุกเฉิน

นพ.สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์ เขียนถึงประเด็น ‘บริการยามเจ็บป่วยฉุกเฉิน’ ที่มีโจทย์ให้ต้องขบคิดแก้ไขมากมาย ซึ่งไม่ใช่การพัฒนาแค่ระบบรถฉุกเฉินหรือคุณภาพห้องฉุกเฉินเท่านั้น

สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์

24 May 2023

Science & Innovation

14 Mar 2022

ความก้าวหน้าของวิทยาศาสตร์การแพทย์แบบดักทาง

นำชัย ชีววิวรรธน์ ชวนไปสำรวจความก้าวหน้าของวิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ช่วย ‘ดักทาง’ โรคร้ายก่อนจะมาถึงมนุษย์ และมีการรักษาที่จำเพาะเจาะจงเฉพาะตัวกับแต่ละคนมากขึ้น

นำชัย ชีววิวรรธน์

14 Mar 2022

Health

31 Oct 2021

หลังเสียงไซเรน : ความเหลื่อมล้ำในการจัดการบริการแพทย์ฉุกเฉิน

101 ชวนเปิดปมปัญหาความเหลื่อมล้ำในการจัดบริการการแพทย์ฉุกเฉิน ผ่านงานวิจัย ‘ความเหลื่อมล้ำด้านการบริการการแพทย์ฉุกเฉินของประเทศไทย’ โดย ศ.ดร.ดิเรก ปัทมสิริวัฒน์ และคณะ เพื่อสะท้อนปัญหาที่ซ่อนอยู่เบื้องหลัง

กาญจนา ปลอดกรรม

31 Oct 2021

Trends

13 Oct 2020

ความหมายใหม่ของ ‘อนาถา’ กับโรงพยาบาลแห่งอนาคต

คอลัมน์ TREND RIDER สัปดาห์นี้ โตมร ศุขปรีชา ชวนตั้งคำถามกับความหมายของคำว่า ‘คนไข้อนาถา’ ที่อาจเปลี่ยนไปในโลกยุคสมัยใหม่ รวมถึงความเป็นไปได้ในการออกแบบโรงพยาบาลแห่งอนาคตเพื่อตอบโจทย์ความเปลี่ยนแปลงในสังคม

โตมร ศุขปรีชา

13 Oct 2020

TREND RIDER

1 Jul 2020

Cancel Cancer: ทำอย่างไรมะเร็งร้ายจึงจะหายไป

คอลัมน์ Trend Rider สัปดาห์นี้ โตมร ศุขปรีชา เขียนถึง ประวัติศาสตร์และพัฒนาการของวิทยาการทางการแพทย์ในการรักษามะเร็ง จากยุคโบราณจนถึงปัจจุบัน

โตมร ศุขปรีชา

1 Jul 2020

Life & Culture

9 Aug 2018

การรักษาต้องสงสัย : เมื่อความรู้ทางการแพทย์พร้อมที่จะเก่าเสมอ

สมคิด พุทธศรี เขียนถึงความรู้ทางการแพทย์ที่อาจผิดได้ บางความเชื่อที่มีมาอย่างยาวนาน อาจไม่ใช่ความจริงเสมอไป อาจทำให้ผู้รับการรักษาเพิ่มค่าใช้จ่ายโดยไม่จำเป็น บางครั้งร้ายแรงถึงชีวิต

สมคิด พุทธศรี

9 Aug 2018

POETIC

14 Apr 2018

บทกวีแด่โรคมะเร็ง

โรคมะเร็งมีบทกวีเป็นของตนเองมากอย่างน่าทึ่ง ทั้งตลกร้าย โศกเศร้า กระทั่งบทกวีที่เอ่ยถึงพัฒนาการของมัน คอลัมน์ Poetic ชวนผู้อ่านเจาะเข้าไปในเซลล์มะเร็งที่เชื่อมต่อกับหัวใจกวีใน ‘บทกวีแด่โรคมะเร็ง’

ชลธร วงศ์รัศมี

14 Apr 2018

Interviews

13 Feb 2018

อย่าคิดว่าแน่ เลยไม่แคร์เบาหวาน – ศ.เกียรติคุณ พญ.วรรณี นิธิยานันท์

101 ชวนคุณพูดคุยกับ ศ.เกียรติคุณ พญ.วรรณี นิธิยานันท์ นายกสมาคมโรคเบาหวานแห่งประเทศไทยในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ เพื่อหาคำตอบว่า สาเหตุอะไรที่ทำให้เบาหวานยังไม่ไปไหน จริงหรือไม่ที่เชื่อกันว่า เบาหวานเกิดจากกินหวาน และโรคนี้มาจากพันธุกรรมหรือพฤติกรรมเป็นส่วนใหญ่กันแน่

ณัฐกานต์ อมาตยกุล

13 Feb 2018

Health

11 Dec 2017

‘การแพทย์ที่เชื่อไม่ได้’ หยุดเชื่อ เริ่มถาม เรื่องการรักษา กับ ดร.นพ.ยศ ตีระวัฒนานนท์

101 คุยกับ ดร.นพ.ยศ ตีระวัฒนานนท์ เลขาธิการมูลนิธิเพื่อการประเมินเทคโนโลยีและนโยบายด้านสุขภาพ เกี่ยวกับสารพัดมายาคติในระบบสุขภาพของไทย จากการรู้ไม่เท่าทัน “ธรรมชาติของความรู้” ทางการแพทย์

ภัทชา ด้วงกลัด

11 Dec 2017

Health

10 Aug 2017

จากเมล็ดข้าวถึงแท่งพลาสติก : การเดินทางแสนยาวไกลของ ‘ที่ตรวจการตั้งครรภ์’

กว่าวิทยาการทางการแพทย์จะทำให้เราตรวจการตั้งครรภ์ได้ง่ายดายเพียงหยดปัสสาวะลงบนแท่งตรวจเล็กๆ ที่ซื้อได้ตามร้านสะดวกซื้อ ประวัติศาสตร์การตรวจตั้งครรภ์ของผู้หญิงผ่านอะไรมามากกว่าที่คิด

เทพพิทักษ์ มณีพงษ์

10 Aug 2017

Health

18 Jul 2017

5 คำถามเพื่อ Choosing Wisely เมื่อคำว่า “มาก” ไม่ใช่คำตอบสำหรับสุขภาพเสมอไป

คำถาม 5 ข้อที่ผู้ป่วยควรถามหมอก่อนรับการรักษา เพื่อร่วมกันเลือกแนวทางรักษาที่ดีที่สุดและเหมาะสมที่สุด แบบ Choosing Wisely

กองบรรณาธิการ

18 Jul 2017

Interviews

9 May 2017

“ผ่าท้องคลอดไม่ใช่คำตอบสุดท้าย” ไขปมความไม่รู้และความเข้าใจผิดของเหล่าพ่อแม่มือใหม่ กับ ศ.นพ.ภิเศก ลุมพิกานนท์

ศ.นพ.ภิเศก ลุมพิกานนท์ ประธานราชวิทยาลัยสูตินรีแพทย์แห่งประเทศไทย อดีตคณบดีคณะแพทย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น สนทนากับภัทชา ด้วงกลัด เพื่อลบล้างมายาคติเรื่องการผ่าท้องคลอดในสังคมไทย ถ้าการคลอดไม่ใช่แค่เรื่องการเกิด แต่เป็นเรื่องของชีวิตทั้งชีวิตของแม่และลูกที่คุณรัก มีดหมออาจไม่ใช่คำตอบสุดท้าย!

ภัทชา ด้วงกลัด

9 May 2017

RECOMMENDED

Social Issues

17 Feb 2017

อ่านข่าวออนไลน์จากสำนักไหน ใครจำได้บ้าง

แน่นอน คนเราอ่านข่าวออนไลน์กันมากขึ้น แต่เราจำได้หรือเปล่าว่าข่าวไหนมาจากสำนักไหน ใครวิเคราะห์อะไรบ้าง ได้ตามข่าวไหนต่อเป็นพิเศษหรือเปล่า วิธีอ่านข่าวออนไลน์ของเราเป็นอย่างไร

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Social Issues

17 Feb 2017

น้ำแข็งขั้วโลกหดตัวต่ำสุดในประวัติศาสตร์ ไม่ใช่แค่ขั้วเดียว-แต่ทั้งสองขั้วเลย!

ขั้วโลกเหนือเป็นฤดูหนาว ขั้วโลกใต้เป็นฤดูร้อน แต่ที่เหมือนกันก็คือ ไม่ว่าจะหนาวจะร้อน ทั้งสองขั้วโลกต่างมีอาการ ‘น้ำแข็งหดตัว’ จนเกิดสถิติใหม่อย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อนด้วยกันทั้งคู่!

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Life & Culture

20 Feb 2017

พื้นที่สาธารณะ พื้นที่ของใครกันแน่?

ดัชนีชี้วัดความสุขประชากรในเมืองขึ้นอยู่กับอะไรบ้าง ห้างสวยแอร์เย็น รถไฟฟ้าไร้โฆษณา หรือจริงๆ มนุษย์เมืองล้วนต้องการพื้นที่สาธารณะที่เป็น ‘สาธารณะ’ จริงๆ

เทพพิทักษ์ มณีพงษ์

20 Feb 2017

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save