fbpx

World

20 Mar 2023

‘ฮีโร่ผู้กู้ชาติ’ หรือ ‘คนนอกของสังคม’? ปรากฏการณ์อคติทางเชื้อชาติต่อฟุตบอลทีมชาติฝรั่งเศส

อัยย์ลดา แซ่โค้ว เขียนถึง อคติทางเชื้อชาติต่อนักเตะทีมชาติฝรั่งเศสเชื้อสายผู้อพยพที่ยังคงอยู่ แม้ว่าพวกเขาจะเป็นจุดกำเนิดความยิ่งใหญ่ของทัพตราไก่และนำความสำเร็จมาสู่ฝรั่งเศสในสนามลูกหนังก็ตาม ซึ่งสะท้อนปัญหาการเหยียดเชื้อชาติในสังคมฝรั่งเศสและมรดกยุคอาณานิคมที่ยังไม่หายไปไหน

อัยย์ลดา แซ่โค้ว

20 Mar 2023

World

7 Jan 2022

ระบบวรรณะในอเมริกามาได้อย่างไร?

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ ชวนมองปัญหาของสังคมอเมริกันปัจจุบันจากมุมมองประวัติศาสตร์ ท่ามกลางความสัมพันธ์ที่ไม่เท่าเทียมกันระหว่างสีผิวเชื้อชาติโดยเฉพาะผิวขาวกับผิวดำ

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ

7 Jan 2022

World

27 Jul 2021

‘Englishness’ คืออะไร? เมื่อทีมชาติฟุตบอลอังกฤษสะท้อนค่านิยมสังคมก้าวหน้า

หลังทีมชาติอังกฤษพ่ายแพ้ในรอบชิงฟุตบอลยูโร นำไปสู่คลื่นการเหยียดเชื้อชาติ-สีผิวของแฟนบอลผู้ผิดหวังกับนักเตะผิวดำสามคนที่ยิงลูกโทษพลาด ปรากฏการณ์นี้นำไปสู่คำถามต่อการนิยาม ‘Englishness’

สมชัย สุวรรณบรรณ

27 Jul 2021

Life & Culture

5 Jul 2021

การหวนคืนสนามท่ามกลางเสียงวิจารณ์ชุดใหญ่ เบนเซมาในสายตาของฝั่งขวาจัด

คอลัมน์ PopCapture พิมพ์ชนก พุกสุข เขียนถึงการเหยียดเชื้อชาติในแวดวงฟุตบอลที่กลับมาเป็นประเด็นร้อนอีกครั้ง เมื่อ การีม เบนเซมา นักเตะจากครอบครัวผู้อพยพชาวอัลจีเรียกลับมาเล่นให้ทีมชาติฝรั่งเศสในรอบ 6 ปี ท่ามกลางการตื่นตัวต่อความหลากหลายที่โหมกระหน่ำอยู่ในสากลโลก

พิมพ์ชนก พุกสุข

5 Jul 2021

Media

28 May 2021

In relationships with IR Ep.2 : ช็อกโกแลต ชา กาแฟ และน้ำตาล

In relationships with IR ตอนใหม่ ชวนเปิดมุมมืดของช็อกโกแล็ต ชา กาแฟ และน้ำตาล ที่สืบสาวกลับไปยังยุคอาณานิคมและยังส่งต่อมาสู่โลกปัจจุบันในรูปแบบของความเหลื่อมล้ำระหว่างโลกที่พัฒนาแล้วและโลกที่เขาว่ากันว่ากำลังพัฒนา

ณรจญา ตัญจพัฒน์กุล

28 May 2021

World

6 May 2021

The Invisible Race: ‘เอเชียนอเมริกัน’ ชนชาติที่หล่นหายไปในประวัติศาสตร์แห่งการกดขี่

ท่ามกลางกระแสสูงของการเหยียดเชื้อชาติเอเชียในสหรัฐฯ 101 ถอดรหัส ‘อาชญากรรมจากความเกลียดชัง’ ต่อคนเอเชียว่า อะไรคือสิ่งที่ซ่อนอยู่ใต้ปลายยอดภูเขาน้ำแข็ง อะไรที่ปิดตาสังคมอเมริกันว่า อาชญากรรมจากความเกลียดชังและการเหยียดคนเอเชียนั้นไม่มีอยู่จริงในสหรัฐฯ

ณรจญา ตัญจพัฒน์กุล

6 May 2021

World

8 Apr 2021

ความเจ็บปวดของเอเชียนอเมริกันที่ไม่เคยถูกมองว่าเป็นส่วนหนึ่งของบ้านเกิด

ในวันที่กระแสความเกลียดชังเอเชียโหมกระหน่ำในสหรัฐฯ ดวงยิหวา อุตรสินธุ์ เขียนถึง ความเจ็บปวดไร้เสียงของคนอเมริกันเชื้อสายเอเชียและประวัติศาสตร์การเหยียดเชื้อชาติเอเชียกว่า 200 ปีที่มัก ‘ถูกลืม’

ดวงยิหวา อุตรสินธุ์

8 Apr 2021

Asia

23 Jul 2020

คนจีนโพ้นทะเลท่ามกลางสนามความขัดแย้งจีน-อินเดีย

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก เขียนถึงคนจีนโพ้นทะเลในอินเดียที่ต้องเผชิญต่อกระแสเหยียดเชื้อชาติตั้งแต่สมัยสงครามเย็น จนกระทั่งปัจจุบันเมื่อความขัดแย้งอินเดีย-จีนระลอกใหม่ปะทุขึ้นมา

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก

23 Jul 2020

Lifestyle

27 Nov 2019

‘No Room For Racism’ : สำรวจการเหยียดในโลกลูกหนัง รอยด่างที่ยังหาทางลงไม่เจอ?

พิมพ์ชนก พุกสุข เขียนถึงเหตุการณ์การเหยียดผิวในแวดวงฟุตบอล ซึ่งเกิดขึ้นและกลายเป็นข่าวใหญ่ถึงสามครั้งในรอบเดือนที่ผ่านมา พร้อมเปรียบเทียบมาตรการในการรับมือสถานการณ์ทำนองเดียวกันในกีฬาอื่นๆ

พิมพ์ชนก พุกสุข

27 Nov 2019

Interviews

13 Nov 2018

“อเมริกาจะดีกว่านี้ถ้า…” คุยกับ TRISHES ศิลปินสาวชาวมุสลิมที่เกิดและโตในอเมริกา

พันธวัฒน์ เศรษฐวิไล คุยกับ ‘Trishes’ ศิลปินเชื้อสายตรินิแดด ที่เกิดและโตในอเมริกา ในวาระที่เธอมาเล่นคอนเสิร์ตที่กรุงเทพฯ นอกจากตัวตนที่ผลงานที่น่าสนใจ มุมมองของเธอในฐานะ ‘คนนอก’ ที่ใช้ชีวิตอยู่ในอเมริกาก็น่ารับฟังไม่น้อยไปกว่ากัน

พันธวัฒน์ เศรษฐวิไล

13 Nov 2018

Social Problems

9 Oct 2018

ความเท่าเทียมในความไม่เท่าเทียม : ชีวิตแม่บ้านไทยในสหราชอาณาจักร

ภัทราภรณ์ จึงเลิศศิริ เขียนถึงชีวิตของหญิงไทยที่ไปสร้างครอบครัวอยู่ในสหราชอาณาจักร แม้จะมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นจากสังคมที่มีความเท่าเทียมสูงกว่า ทว่าอีกด้านหนึ่ง พวกเธอกลับต้องพบเจอกับภาวะ ‘การเหยียดตัวเอง’ จากมายาคติเดิมๆ

กองบรรณาธิการ

9 Oct 2018

Videos

27 Jun 2018

The Reveal ep4 “รีวิว 8 การเหยียดผิวในโลกฟุตบอล ที่จะเหยียดไปทำไม?”

เขาเหยียดผิวด้วยวิธีการแบบไหนในกีฬาฟุตบอล?
ใครเป็นคนเริ่มเมื่อยคนแรก (เหยียดดคนแรก ตึ่งโป๊ะ)?
ที่ไทยกับต่างประเทศ เหยียดเหมือนกันไหม?
การเหยียดเชื้อชาติในสนาม เกี่ยวอะไรกับเรื่องนอกสนาม?

อย่าเพิ่งเหยียดใคร ถ้าคุณยังไม่ได้ดูคลิปนี้จนจบ

กองบรรณาธิการ

27 Jun 2018

RECOMMENDED

Social Issues

17 Feb 2017

อ่านข่าวออนไลน์จากสำนักไหน ใครจำได้บ้าง

แน่นอน คนเราอ่านข่าวออนไลน์กันมากขึ้น แต่เราจำได้หรือเปล่าว่าข่าวไหนมาจากสำนักไหน ใครวิเคราะห์อะไรบ้าง ได้ตามข่าวไหนต่อเป็นพิเศษหรือเปล่า วิธีอ่านข่าวออนไลน์ของเราเป็นอย่างไร

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Social Issues

17 Feb 2017

น้ำแข็งขั้วโลกหดตัวต่ำสุดในประวัติศาสตร์ ไม่ใช่แค่ขั้วเดียว-แต่ทั้งสองขั้วเลย!

ขั้วโลกเหนือเป็นฤดูหนาว ขั้วโลกใต้เป็นฤดูร้อน แต่ที่เหมือนกันก็คือ ไม่ว่าจะหนาวจะร้อน ทั้งสองขั้วโลกต่างมีอาการ ‘น้ำแข็งหดตัว’ จนเกิดสถิติใหม่อย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อนด้วยกันทั้งคู่!

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Life & Culture

20 Feb 2017

พื้นที่สาธารณะ พื้นที่ของใครกันแน่?

ดัชนีชี้วัดความสุขประชากรในเมืองขึ้นอยู่กับอะไรบ้าง ห้างสวยแอร์เย็น รถไฟฟ้าไร้โฆษณา หรือจริงๆ มนุษย์เมืองล้วนต้องการพื้นที่สาธารณะที่เป็น ‘สาธารณะ’ จริงๆ

เทพพิทักษ์ มณีพงษ์

20 Feb 2017

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save