fbpx

Global Affairs

29 Feb 2024

อย่าให้ทฤษฎีเป็นนายเรา

ศุภมิตร ปิติพัฒน์ เปิดสนทนาว่าด้วยหลากวิธีในการใช้ทฤษฎีเพื่อศึกษาการเมืองระหว่างประเทศ และข้อพึงระวังเพื่อไม่ให้ติดทฤษฎีกลายเป็นนายเรา

ศุภมิตร ปิติพัฒน์

29 Feb 2024

World

7 Feb 2024

Asia-Arctic Five: รัฐเอเชียกับการสร้างตำแหน่งแห่งที่ในภูมิรัฐศาสตร์ขั้วโลกเหนือ

ศิวัชฐ์ วรรณโกมล ชวนสำรวจความสัมพันธ์ระหว่างรัฐเอเชีย 5 ประเทศ กับการเข้าไปมีบทบาทร่วมกับสภาอาร์กติก และมหาอำนาจฝั่งขั้วโลกเหนือ

ศิวัชฐ์ วรรณโกมล

7 Feb 2024

World

22 Jan 2024

โลก 20 ปีข้างหน้าเป็นอย่างไร? มองการเมืองโลกแบบมองไกล และมองประเทศไทยแบบจงเตรียมพร้อม

การเมืองโลก 20 ปีข้างหน้าจะเป็นอย่างไร และไทยต้องเตรียมพร้อมอย่างไร ชวนอ่านบทวิเคราะห์จากทีมวิจัย Foresight Team

ปิ่นนิล บ้านสวนมะปราง

22 Jan 2024

World

12 Jun 2023

100 ปี เฮนรี คิสซินเจอร์: ร่องรอยความคิดของ ‘บุรุษสงครามเย็น’ ในระเบียบโลก

คิสซินเจอร์ ‘คิด’ ต่อความเป็นไปของโลกตลอดเวลาที่ผ่านมาอย่างไร? โจทย์ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศแบบไหนที่คิสซินเจอร์ตั้งไว้? อะไรคือมรดกทางความคิดที่คิสซินเจอร์ฝากไว้ในโลกการเมืองระหว่างประเทศ? และเราควรทำความเข้าใจคิสซินเจอร์ด้วยหมวกใบไหนกันแน่?

ณรจญา ตัญจพัฒน์กุล

12 Jun 2023

World

23 May 2023

เมื่อความบังเอิญสร้างปาฏิหาริย์

ศุภมิตร ปิติพัฒน์ เขียนถึงที่ทางของ ‘ปาฏิหาริย์’ และ ‘ความบังเอิญ’ ในความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ และอะไรคือนัยสำคัญของแนวคิดทั้งสองในการทำความเข้าใจประวัติศาสตร์การเมืองไทย เพื่อสนทนากับหนังสือ “ปาฏิหาริย์นั้นมีจริง : ความบังเอิญของไทยในการเอาตัวรอดจากอังกฤษหลังสงครามโลกครั้งที่ 2”

ศุภมิตร ปิติพัฒน์

23 May 2023

World

10 Jan 2023

BIMSTEC: ที่ซึ่งเอเชียใต้และตะวันออกเฉียงใต้ (ยังไม่ได้) มาบรรจบกัน

สุภลักษณ์ กาญจนขุนดี เขียนถึงความคืบหน้าของเป้าหมายที่ BIMSTEC อยากจะบรรลุผล ที่ยังห่างไกลจากเป้าหมายอยู่พอควร เพราะปัญหาทั้งจากกลุ่มประเทศสมาชิกและความสามารถของผู้นำประเทศ

สุภลักษณ์ กาญจนขุนดี

10 Jan 2023

World

27 Dec 2022

สงคราม-มหาอำนาจแยกขั้ว: การเมืองโลก 2022 กลางทวิวิกฤต

101 ชวนย้อนมองระเบียบโลกปี 2022 เมื่อโลกกำลังเข้าสู่การเปลี่ยนผ่านดุลอำนาจไปสู่สองขั้วอำนาจระหว่างจีน-สหรัฐฯ และเต็มไปด้วยความตึงเครียดทางภูมิรัฐศาสตร์ที่ปะทุขึ้นทั้งในสงครามรัสเซีย-ยูเครน ช่องแคบไต้หวัน และอินโด-แปซิฟิก

ณรจญา ตัญจพัฒน์กุล

27 Dec 2022

Global Affairs

8 Dec 2022

คิสซินเจอร์กับ Post-Negotiation

ศุภมิตร ปิติพัฒน์เขียนถึงวิธีคิดเกี่ยวกับเจรจาต่อรองของเฮนรี คิสซินเจอร์ นักการทูตชื่อดังที่มีบทบาทสำคัญในการเจรจาระหว่างสหรัฐฯ กับจีนในยุคสงครามเย็น

ศุภมิตร ปิติพัฒน์

8 Dec 2022

World

15 Nov 2022

สัจนิยมกับความเป็นโศกนาฏกรรมของการเมืองระหว่างประเทศ

ศุภมิตร ปิติพัฒน์ เขียนถึงทฤษฎีสัจนิยม ซึ่งครองความเป็นเจ้าในอาณาบริเวณการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาเกือบห้าสิบปี

ศุภมิตร ปิติพัฒน์

15 Nov 2022

US

18 Jul 2022

เรียนฐานคิดของเสรีนิยม (ไม่ใหม่) จากงานของนักรัฐศาสตร์รัฐธรรมนูญอเมริกัน Vincent Ostrom (1919-2012)

ศุภมิตร ปิติพัฒน์ ชวนอ่านฐานคิดของ ‘เสรีนิยม’ ในการเมืองระหว่างประเทศผ่านงานเขียนของ Vincent Ostrom นักรัฐศาสตร์รัฐธรรมนูญอเมริกันผู้เลื่องชื่อ

ศุภมิตร ปิติพัฒน์

18 Jul 2022

World

2 Mar 2022

การศึกษานโยบายต่างประเทศไทยตาม research program ontological security ของอาจารย์พีระ เจริญวัฒนนุกูล (หรือ ตามแนวคิด – ต่อทฤษฎี ฯ ตอนที่ 3)

ศุภมิตร ปิติพัฒน์ ชวนอ่านการสร้างองค์ความรู้ในวิชาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศโดยใช้ research program ผ่านหนังสือของพีระ เจริญวัฒนนุกูล

ศุภมิตร ปิติพัฒน์

2 Mar 2022

101 in focus

25 Feb 2022

101 In Focus Ep.118: รัสเซีย-ยูเครน : เปิดปมเบื้องหลังความขัดแย้งระลอกใหม่

101 In Focus ชวนเปิดปมความขัดแย้งระลอกใหม่ระหว่างรัสเซียและยูเครน หลังจากเสียงระเบิดและเสียงปืนดังขึ้นในเมืองเคียฟ จากการโจมตีของรัสเซีย

กองบรรณาธิการ

25 Feb 2022

In relationships with IR

23 Apr 2021

In relationships with IR Ep.1 : ศึก 5G จีน – สหรัฐ

เมื่อช่วงปี 2019 มีข่าวว่า (อดีต) ประธานาธิบดีสหรัฐฯ โดนัลด์ ทรัมป์ ประกาศแบนหัวเว่ย และชักชวนให้พันธมิตรของตนร่วมแบนหัวเว่ยด้วย แต่แบนหัวเว่ยทำไม หัวเว่ยมีความสำคัญอย่างไร เรื่องนี้เกี่ยวพันกับเกมช่วงชิงความเป็นมหาอำนาจโลกจีน-สหรัฐฯ อย่างไร ชวนหาคำตอบใน ‘In relationships with IR’ ตอนแรก

กานต์ธีรา ภูริวิกรัย

23 Apr 2021

Global Affairs

29 Jan 2021

ผ่าสมรภูมิการเมืองโลก 6 ภูมิภาค ในยุคการทูตวัคซีนเบ่งบาน

101 พาไปเจาะลึกสมรภูมิการเมืองระหว่างประเทศใน 6 ภูมิภาคของโลกในยุคการทูตวัคซีนเบ่งบาน พร้อมไปมองว่าแต่ละขั้วชาติมหาอำนาจกำลังเข้าไปเดินเกมในแต่ละพื้นที่กันอย่างไร

วงศ์พันธ์ อมรินทร์เทวา

29 Jan 2021
1 2 3

RECOMMENDED

Social Issues

17 Feb 2017

อ่านข่าวออนไลน์จากสำนักไหน ใครจำได้บ้าง

แน่นอน คนเราอ่านข่าวออนไลน์กันมากขึ้น แต่เราจำได้หรือเปล่าว่าข่าวไหนมาจากสำนักไหน ใครวิเคราะห์อะไรบ้าง ได้ตามข่าวไหนต่อเป็นพิเศษหรือเปล่า วิธีอ่านข่าวออนไลน์ของเราเป็นอย่างไร

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Social Issues

17 Feb 2017

น้ำแข็งขั้วโลกหดตัวต่ำสุดในประวัติศาสตร์ ไม่ใช่แค่ขั้วเดียว-แต่ทั้งสองขั้วเลย!

ขั้วโลกเหนือเป็นฤดูหนาว ขั้วโลกใต้เป็นฤดูร้อน แต่ที่เหมือนกันก็คือ ไม่ว่าจะหนาวจะร้อน ทั้งสองขั้วโลกต่างมีอาการ ‘น้ำแข็งหดตัว’ จนเกิดสถิติใหม่อย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อนด้วยกันทั้งคู่!

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Life & Culture

20 Feb 2017

พื้นที่สาธารณะ พื้นที่ของใครกันแน่?

ดัชนีชี้วัดความสุขประชากรในเมืองขึ้นอยู่กับอะไรบ้าง ห้างสวยแอร์เย็น รถไฟฟ้าไร้โฆษณา หรือจริงๆ มนุษย์เมืองล้วนต้องการพื้นที่สาธารณะที่เป็น ‘สาธารณะ’ จริงๆ

เทพพิทักษ์ มณีพงษ์

20 Feb 2017

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save