fbpx

Interviews

15 Feb 2024

CCCL Film Festival ในวันที่โลกป่วย เทศกาลภาพยนตร์ต้องเปลี่ยน?

101 สนทนากับ บุษกร สุริยสาร และนคร ไชยศรี จาก CCCL Film Festival ถึงแนวคิด เป้าหมาย และบทบาทของเทศกาลภาพยนตร์ที่สื่อสารประเด็นเฉพาะอย่าง climate change ว่าในวันที่โลกป่วย เทศกาลภาพยนตร์มีที่ทางอย่างไร

ศุภวิชญ์ ศิริสวัสดิ์วัฒนา

15 Feb 2024

World

29 Mar 2023

อาร์กติก 2030: พื้นที่แห่งความร่วมมือ ความขัดแย้ง และโอกาสแห่งอนาคต

ศิวัชฐ์ วรรณโกมล เขียนถึง 3 พื้นที่แห่งความร่วมมือ ความขัดแย้ง และโอกาส ที่ขับเคลื่อนการเมืองในภูมิภาคอาร์กติก หลังผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศแปรสภาพให้ภูมิภาคอาร์กติกกลายเป็นสมรภูมิทางภูมิรัฐศาสตร์ และมีหลายประเทศหมายตา ‘อาร์กติก’ เพิ่มขึ้น

ศิวัชฐ์ วรรณโกมล

29 Mar 2023

Media

3 Mar 2023

101 In Focus Ep.168 : ไทยต้องสูญเสียอะไรบ้าง หากการแก้ปัญหาโลกรวนยังไปไม่ถึงไหน?

ปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในปัจจุบันน่ากังวลแค่ไหน? ถ้าเรายังไม่เริ่มออกนโยบายแก้ปัญหาภาวะโลกรวน อะไรคือผลกระทบที่จะเกิด? แผนรับมือวิกฤตสิ่งแวดล้อมไทยตามทันสถานการณ์หรือไม่? ไทยมี Green Deal เหมือนกับหลายๆ ประเทศทั่วโลกไหม? 101 In Focus สัปดาห์นี้ ชวนคุณสำรวจนโยบายการรับมือการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในไทย

กองบรรณาธิการ

3 Mar 2023

101PUB

28 Feb 2023

รัฐบาลใหม่ต้องคิดใหญ่ ยกเครื่องประเทศไทยด้วยการลงทุนสีเขียว

เมื่อวิกฤตโลกรวนรอไม่ได้ การลงทุนสีเขียวหรือการปรับโครงสร้างพื้นฐานด้านสิ่งแวดล้อมขนานใหญ่ อาจเป็นโจทย์ที่ประเทศไทยต้องลงมือทำตั้งแต่วันนี้

เจณิตตา จันทวงษา

28 Feb 2023

Public Policy

13 Dec 2022

ไทยต้องสูญเสียอะไรบ้าง หากการแก้ปัญหาโลกรวนยังไปไม่ถึงไหน?

101 PUB ชวนสำรวจผลกระทบและความสูญเสียของ ‘วิกฤตโลกรวน’ ที่กำลังฉายชัดขึ้นเรื่อยๆ ในประเทศไทย พร้อมประเมินความพร้อมของแผนและนโยบายรับมือของไทยต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

เจณิตตา จันทวงษา

13 Dec 2022

ASEAN บ่มีไกด์ x กฤษฎ์เลิศ "Journey to ASEAN Econ"

21 Sep 2022

ASEAN บ่มีไกด์ x กฤษฎ์เลิศ EP.14 – เศรษฐกิจอาเซียนอยู่อย่างไรในภาวะโลกร้อน?

ASEAN บ่มีไกด์ x กฤษฎ์เลิศ ชวนมองผลกระทบของภาวะโลกร้อนต่อเศรษฐกิจอาเซียน พร้อมคุยกันว่าเศรษฐกิจอาเซียนจะปรับตัวอย่างไรในภาวะนี้

วงศ์พันธ์ อมรินทร์เทวา

21 Sep 2022

Thailand: The Great Reset

10 Feb 2022

เมื่อโลกไม่มีใบที่สอง นโยบายสิ่งแวดล้อมต้องไม่ใช่ประเด็นรองอีกต่อไป กับ เพชร มโนปวิตร

101 สนทนากับ ดร.เพชร มโนปวิตร ถึงปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศโลกที่ใกล้เดินถึงจุดที่ไม่อาจแก้ไขได้ พร้อมร่วมเสนอแนะหาแนวนโยบายที่เหมาะสมสำหรับประเทศไทย

กองบรรณาธิการ

10 Feb 2022

Sustainability

26 Nov 2021

ความย้อนแย้งของคำพูดผู้นำประเทศ

วันชัย ตันติวิทยาพิทักษ์ วิจารณ์คำพูดของนายกรัฐมนตรี พล.อ. ประยุทธ์ จันทร์โอชา ในการประชุม COP26 ที่ยืนยันว่าให้ความสำคัญสูงสุดต่อภาวะโลกร้อน แต่กลับย้อนแย้งกับการกระทำจริง

วันชัย ตันติวิทยาพิทักษ์

26 Nov 2021

World

25 Nov 2021

2070: การเดิมพันด้วยชีวิตของอินเดีย

ส่งท้ายควันหลงการประชุม COP26 ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก เขียนถึง เหตุที่อินเดียกล้าประกาศเป้าหมายอันทะเยอทะยานในการลดคาร์บอนสุทธิให้เป็นศูนย์ภายในปี 2070

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก

25 Nov 2021

Sustainability

11 Nov 2021

เจาะประเด็นสิ่งแวดล้อม ‘COP26’ เมื่อโลกไม่มีใบที่สอง กับ เพชร มโนปวิตร

101 ชวน ดร.เพชร มโนปวิตร นักวิทยาศาสตร์ด้านการอนุรักษ์ เลขาธิการมูลนิธิโลกสีเขียว และผู้ร่วมก่อตั้ง ReReef สนทนาถึงปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศโลกที่ใกล้เดินถึงจุดที่ไม่อาจแก้ไขได้ พร้อมเจาะลึกผลการประชุม COP26 ว่าเพียงพอหรือล้มเหลวที่จะพามนุษยชาติให้รอดพ้นจากปัญหานี้

กองบรรณาธิการ

11 Nov 2021

World

24 Oct 2021

ภัยพิบัติโลกร้อนพ่นพิษใส่เจ้าภาพ COP 26 ถึงคราวปราการ Thames Barrier จะต้านไม่อยู่

สมชัย สุวรรณบรรณ เขียนถึงปัญหาการรับมือวิกฤตสภาพภูมิอากาศของสหราชอาณาจักร เมื่อ Thames Barrier ที่ปกป้องลอนดอนจากน้ำทะเลหนุนอาจรับมือไม่ไหวในอนาคต

สมชัย สุวรรณบรรณ

24 Oct 2021

Economy

18 Aug 2021

ความมั่งคั่งของชาติ การก้าวข้ามตัวเลข GDP และนัยยะจาก Code Red ด้านสภาพภูมิอากาศ

ฉัตร คำแสง ชวนมองใหม่ตัวเลข ‘GDP’ ที่ไม่ตอบโจทย์การชี้วัดเศรษฐกิจอีกต่อไป ด้วยเหตุผลหนึ่งคือการมองข้ามความเสียหายจากภาวะโลกร้อน ขณะที่ UN เพิ่งออกรายงานเตือนภัยถึงสัญญาณ Code Red ด้านสภาพภูมิอากาศ

ฉัตร คำแสง

18 Aug 2021

Sustainability

18 Aug 2021

แดดร้อนเกินกว่าจะมีลูก

คอลัมน์ สารกันเบื่อ เดือนนี้ เอกศาสตร์ สรรพช่าง เขียนถึง ความรุนแรงของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศที่ UN แถลงว่า ‘น่ากังวลเป็นอย่างมาก’ ซึ่งในอนาคต นอกจากอุณหภูมิเฉลี่ยที่สูงขึ้นจะทำให้สภาพแวดล้อมแปรปรวนจนส่งผลต่อเศรษฐกิจและชีวิตประจำของผู้คนแล้ว ยังส่งผลให้ต่อการตั้งครรภ์ด้วย

เอกศาสตร์ สรรพช่าง

18 Aug 2021

Life & Culture

17 Jun 2021

โบราณคดีขั้วโลกเหนือในวันที่น้ำแข็งกำลังละลาย: คุยกับ แมกซ์ ฟรีเซน นักโบราณคดีที่ดูแลวัตถุโบราณแข่งกับเวลา

คุยกับ แมกซ์ ฟรีเซน นักโบราณคดีที่ทำงานในขั้วโลกเหนือ ว่าด้วยโบราณคดีในวันที่น้ำแข็งขั้วโลกละลาย และสิ่งที่มนุษย์เรียนรู้ได้จากร่องรอยของผู้คนในอดีต

ศุภาวรรณ คงสุวรรณ์

17 Jun 2021

Sustainability

12 Feb 2020

เปิดเส้นทางลดโลกร้อน : จากป่าชุมชนสู่เศรษฐกิจฐานชีวภาพ

เวทีสนทนาว่าด้วยการจัดการป่าจากมุมมองนักวิชาการ สื่อมวลชน กลุ่มชาติพันธุ์ ภาครัฐ และภาคธุรกิจ เพื่อหาทางลดโลกร้อน

กองบรรณาธิการ

12 Feb 2020

RECOMMENDED

Social Issues

17 Feb 2017

อ่านข่าวออนไลน์จากสำนักไหน ใครจำได้บ้าง

แน่นอน คนเราอ่านข่าวออนไลน์กันมากขึ้น แต่เราจำได้หรือเปล่าว่าข่าวไหนมาจากสำนักไหน ใครวิเคราะห์อะไรบ้าง ได้ตามข่าวไหนต่อเป็นพิเศษหรือเปล่า วิธีอ่านข่าวออนไลน์ของเราเป็นอย่างไร

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Social Issues

17 Feb 2017

น้ำแข็งขั้วโลกหดตัวต่ำสุดในประวัติศาสตร์ ไม่ใช่แค่ขั้วเดียว-แต่ทั้งสองขั้วเลย!

ขั้วโลกเหนือเป็นฤดูหนาว ขั้วโลกใต้เป็นฤดูร้อน แต่ที่เหมือนกันก็คือ ไม่ว่าจะหนาวจะร้อน ทั้งสองขั้วโลกต่างมีอาการ ‘น้ำแข็งหดตัว’ จนเกิดสถิติใหม่อย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อนด้วยกันทั้งคู่!

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Life & Culture

20 Feb 2017

พื้นที่สาธารณะ พื้นที่ของใครกันแน่?

ดัชนีชี้วัดความสุขประชากรในเมืองขึ้นอยู่กับอะไรบ้าง ห้างสวยแอร์เย็น รถไฟฟ้าไร้โฆษณา หรือจริงๆ มนุษย์เมืองล้วนต้องการพื้นที่สาธารณะที่เป็น ‘สาธารณะ’ จริงๆ

เทพพิทักษ์ มณีพงษ์

20 Feb 2017

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save