fbpx

Kid For Kids

22 Sep 2022

Research Roundup 2022 : “จินตนาการใหม่-แผลเป็น-เปราะบาง” : อนาคตนโยบายเด็กและครอบครัวไทยในสามวิกฤต

พบกับการนำเสนองานวิจัยและวงสนทนาความรู้ 4 วงใน 4 หัวข้อแห่งยุคสมัย โดยนักวิจัยและแขกรับเชิญหลากหลาย

ตั้งแต่วันที่ 27-30 ก.ย. 65 บ่ายโมงตรงเป็นต้นไป

กองบรรณาธิการ

22 Sep 2022

Videos

29 Apr 2022

รู้จักพิพิธภัณฑ์ของ ‘สามัญชน’ – เมื่อประวัติศาสตร์ไม่ใช่แค่เรื่องของผู้ชนะ

101 สัมภาษณ์ อานนท์ ชวาลาวัณย์ ผู้ก่อตั้ง พิพิธภัณฑ์สามัญชน Museum of Popular History ที่เริ่มจากการค่อยๆ เก็บสิ่งของจากการเคลื่อนไหวทางการเมืองตั้งแต่ปี 2561 และเก็บย้อนหลังเพื่อประกอบร่างประวัติศาสตร์การเคลื่อนไหวทางการเมืองของภาคประชาชน เริ่มต้นตั้งแต่ปฏิวัติ 2475 เหตุการณ์เดือนตุลา พฤษภา 35 เสื้อเหลือง เสื้อแดง กปปส. มาจนถึงการชุมนุมของกลุ่มคนรุ่นใหม่ในยุคปัจจุบัน

เมธิชัย เตียวนะ

29 Apr 2022

Politics

9 Mar 2022

‘เราเป็นแค่ตัวกระตุ้นของเวลาเท่านั้น’ สองปีแห่งความเปลี่ยนแปลงของ ภาณุพงศ์ จาดนอก

101 สนทนากับ ภาณุพงศ์ จาดนอก หลังจากที่เขาต้องเข้าเรือนจำเป็นครั้งที่ห้าด้วยคดีการชุมนุมรวมถึงความผิดเกี่ยวกับความมั่นคงแห่งราชอาณาจักร มาตรา 112 และปลายทางของประเทศไทยที่ทอดตัวยาวอยู่ ณ จุดไหนสักแห่งในอนาคต

พิมพ์ชนก พุกสุข

9 Mar 2022

Social Movement

3 Nov 2021

ถอดบทเรียนความเคลื่อนไหว เข้าใจหลากมิติกลุ่ม ‘เยาวรุ่นทะลุแก๊ส’

ทำไมต้องทะลุแก๊ส? 101 ชวนอ่านข้อค้นพบสำคัญจากรายงาน “การก่อตัว พัฒนาการ และพลวัตการชุมนุมบริเวณแยกดินแดงช่วงเดือนสิงหาคม-ตุลาคม 2564” โดย กนกรัตน์ เลิศชูสกุล และธนาพงศ์ เกิ่งไพบูลย์ พร้อมทั้งต่อยอดจากงานวิจัยด้วยทัศนะและข้ออภิปรายเกี่ยวกับม็อบดินแดง เพื่อหาคำตอบว่าเราจะทำความเข้าใจปรากฏการณ์ ‘ทะลุแก๊ส’ อย่างไร อะไรคือความฝันและแรงผลักดันที่ทำให้พวกเขาออกมาเคลื่อนไหว ทางออกของเรื่องนี้อยู่ตรงไหน อะไรคือประเด็นที่สังคมไทยต้องมาขบคิดร่วมกัน

กองบรรณาธิการ

3 Nov 2021

Politics

20 Oct 2021

101 Public Forum ‘ทำไมต้องทะลุแก๊ส’ เข้าใจหลากมิติม็อบดินแดง

The101.world ร่วมกับภาควิชาปกครอง คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เปิดวงเสวนา ‘ทำไมต้องทะลุแก๊ส’ เพื่อหาคำตอบว่า เราจะทำความเข้าใจปรากฏการณ์ ‘ทะลุแก๊ส’ นี้ได้อย่างไร ใครคือผู้เข้าร่วมหลักของขบวนการ พวกเขาคิดฝันทางการเมืองอย่างไร อะไรคือแรงผลักในการเคลื่อนไหว ทำไมต้องปะทะ ขบวนการเคลื่อนไว้นี้เกี่ยวโยงและส่งผลกับขบวนการประชาธิปไตยภาพใหญ่แค่ไหน และอะไรคือทางออกที่สังคมไทยต้องขบคิดร่วมกัน

กองบรรณาธิการ

20 Oct 2021

Politics

6 Oct 2021

6 บทเรียน จาก 6 ตุลา ต่อการเคลื่อนไหวทางการเมืองในไทย

พริษฐ์ วัชรสินธุ เขียนถึงบทเรียนจากเหตุการณ์ 6 ตุลาคม 2519 ที่สะท้อนการเคลื่อนไหวภาคประชาชนในเหตุการณ์ปัจจุบัน

พริษฐ์ วัชรสินธุ

6 Oct 2021

Politics

12 Sep 2021

อย่าประเมินสันติวิธีบวกเกินไป อย่าประเมินความรุนแรงลบเกินไป

สมชาย ปรีชาศิลปกุล ชวนคิดเรื่องวิธีการมองสันติวิธีในไทย และปัจจัยที่จะทำให้การเคลื่อนไหวแบบไม่ใช้ความรุนแรงมีความหมาย

สมชาย ปรีชาศิลปกุล

12 Sep 2021

Life & Culture

3 Mar 2021

โครงสร้างแบบไหน ทำไมไทยไม่มีพื้นที่ให้คนดังแสดงความเห็นจนเราต้อง call-out

คอลัมน์ PopCapture พิมพ์ชนก พุกสุข เขียนถึงกระแส call-out หรือการเรียกร้องให้เหล่าคนดังออกมาแสดงจุดยืนต่อเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น โดยเล่าตั้งแต่อิมแพ็คของการ call-out ระดับโลก ก่อนจะวกกลับมาวิเคราะห์สาเหตุที่ทำให้การแสดงจุดยืนกลายเป็นเรื่องห้ามพูดในวงการบันเทิงไทย

พิมพ์ชนก พุกสุข

3 Mar 2021

People

29 Dec 2020

101 Visual Journal 2020 : Photo VOL.1

หากย้อนกลับไปเมื่อต้นปีเราคงมิอาจจินตนาการถึงเหตุการณ์เหล่านี้ได้เลย แต่ทว่ามันเกิดขึ้นแล้ว และสังคมไทยจะไม่เหมือนเดิมอีกต่อไป

101 รวบรวม 36 ภาพเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในปี 2020 ปีแห่งการเปลี่ยนแปลงครั้งสำคัญของประเทศไทย

กองบรรณาธิการ

29 Dec 2020

Spotlights

13 Dec 2020

9 ข้อเสนอสำหรับการเข้าใจการเคลื่อนไหว การจัดการ และ ‘การ์ด’ การชุมนุม

อุเชนทร์ เชียงเสน ชวนทำความเข้าใจและเสนอแนวทางเกี่ยวกับการจัดการการ์ดการชุมนุม ผ่านข้อเสนอ 9 ลำดับขั้นตอน

อุเชนทร์ เชียงเสน

13 Dec 2020

Social Movement

6 Nov 2020

Exclusive โจชัว หว่อง “ความหวัง คือผลลัพธ์จากการลงแรงเคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลงสังคม”

ในวันที่เส้นทางสู่ประชาธิปไตยเต็มไปด้วยขวากหนาม 101 ต่อสายตรงสนทนากับ โจชัว หว่อง ว่าด้วยการรักษาความหวังในวันที่มืดมิด แสงสว่างจากพลังของคนรุ่นใหม่ในการเคลื่อนไหว ไปจนถึงภราดรภาพและภาพซ้อนทับของการเรียกร้องประชาธิปไตยในไทยและฮ่องกง

ณรจญา ตัญจพัฒน์กุล

6 Nov 2020

Democracy

10 Oct 2020

“ประชาธิปไตยในขั้วโลก” กับ พริษฐ์ ชิวารักษ์

วิชาหน้าที่พลเมือง ระบบการศึกษาภาพใหญ่ ความชอบธรรมของรัฐบาลทหาร การเมืองในมหาวิทยาลัย รวมไปถึงบทบาทของสถาบันกษัตริย์ในระบอบประชาธิปไตย
สำรวจ ชีวิต-ตัวตน-ความคิด ของพริษฐ์ ชิวารักษ์ เพื่อรู้จัก ‘เพนกวิน’ และสังคมไทยมากขึ้น

กองบรรณาธิการ

10 Oct 2020

Talk Programmes

1 Oct 2020

101 One-On-One Ep.184 “ประชาธิปไตยในขั้วโลก” กับ พริษฐ์ ชิวารักษ์

วิชาหน้าที่พลเมือง ระบบการศึกษาภาพใหญ่ ความชอบธรรมของรัฐบาลทหาร การเมืองในมหาวิทยาลัย รวมไปถึงบทบาทของสถาบันกษัตริย์ในระบอบประชาธิปไตย
สำรวจ ชีวิต-ตัวตน-ความคิด ของพริษฐ์ ชิวารักษ์ เพื่อรู้จัก ‘เพนกวิน’ และสังคมไทยมากขึ้น

101 One-on-One

1 Oct 2020

Politics

22 Sep 2020

“อ่านพลังคนรุ่นใหม่ ก้าวต่อไปการเมืองไทย” กับ กนกรัตน์ เลิศชูสกุล

ไม่ว่าจะเห็นด้วยกับการชุมนุมหรือไม่ นี่คือการเคลื่อนไหวทางการเมืองโดย ‘คนรุ่นใหม่’ ที่แหลมคมที่สุดครั้งหนึ่ง และจำเป็นอย่างยิ่งที่สังคมไทยต้องทำความเข้าใจและรับฟังอย่างตั้งใจ
คุยกับ ผศ.ดร.กนกรัตน์ เลิศชูสกุล คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในห้วงเวลาที่ ‘คนรุ่นใหม่’ ที่นำโดยนิสิต นักศึกษา และนักเรียนออกมาเคลื่อนไหวอย่างทรงพลัง

กองบรรณาธิการ

22 Sep 2020

Talk Programmes

22 Sep 2020

101 One-On-One Ep.180 “อ่านพลังคนรุ่นใหม่ ก้าวต่อไปการเมืองไทย” กับ กนกรัตน์ เลิศชูสกุล

ไม่ว่าจะเห็นด้วยกับการชุมนุมหรือไม่ นี่คือการเคลื่อนไหวทางการเมืองโดย ‘คนรุ่นใหม่’ ที่แหลมคมที่สุดครั้งหนึ่ง และจำเป็นอย่างยิ่งที่สังคมไทยต้องทำความเข้าใจและรับฟังอย่างตั้งใจ
คุยกับ ผศ.ดร.กนกรัตน์ เลิศชูสกุล คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในห้วงเวลาที่ ‘คนรุ่นใหม่’ ที่นำโดยนิสิต นักศึกษา และนักเรียนออกมาเคลื่อนไหวอย่างทรงพลัง

101 One-on-One

22 Sep 2020
1 2

RECOMMENDED

Social Issues

17 Feb 2017

อ่านข่าวออนไลน์จากสำนักไหน ใครจำได้บ้าง

แน่นอน คนเราอ่านข่าวออนไลน์กันมากขึ้น แต่เราจำได้หรือเปล่าว่าข่าวไหนมาจากสำนักไหน ใครวิเคราะห์อะไรบ้าง ได้ตามข่าวไหนต่อเป็นพิเศษหรือเปล่า วิธีอ่านข่าวออนไลน์ของเราเป็นอย่างไร

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Social Issues

17 Feb 2017

น้ำแข็งขั้วโลกหดตัวต่ำสุดในประวัติศาสตร์ ไม่ใช่แค่ขั้วเดียว-แต่ทั้งสองขั้วเลย!

ขั้วโลกเหนือเป็นฤดูหนาว ขั้วโลกใต้เป็นฤดูร้อน แต่ที่เหมือนกันก็คือ ไม่ว่าจะหนาวจะร้อน ทั้งสองขั้วโลกต่างมีอาการ ‘น้ำแข็งหดตัว’ จนเกิดสถิติใหม่อย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อนด้วยกันทั้งคู่!

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Life & Culture

20 Feb 2017

พื้นที่สาธารณะ พื้นที่ของใครกันแน่?

ดัชนีชี้วัดความสุขประชากรในเมืองขึ้นอยู่กับอะไรบ้าง ห้างสวยแอร์เย็น รถไฟฟ้าไร้โฆษณา หรือจริงๆ มนุษย์เมืองล้วนต้องการพื้นที่สาธารณะที่เป็น ‘สาธารณะ’ จริงๆ

เทพพิทักษ์ มณีพงษ์

20 Feb 2017

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save