fbpx

Life & Culture

18 Apr 2024

หลานม่า : ต้นไม้ เพดาน บ้าน ฮวงซุ้ย

วิวัฒน์ เลิศวิวัฒน์วงศา ชวนสำรวจความสัมพันธ์ของครอบครัวคนไทยเชื้อสายจีนใน ‘หลานม่า’ (2024) หนังที่ว่าด้วยหลานชายที่ต้องไปดูแลอาม่าผู้ป่วยเป็นมะเร็ง สิ่งที่ซุกซ่อนอยู่ใต้เส้นเรื่องที่ดูเหมือนจะคาดเดาได้ คือลำดับขั้นของความสัมพันธ์และบาดแผลที่ส่งต่อกันจากรุ่นสู่รุ่น

วิวัฒน์ เลิศวิวัฒน์วงศา

18 Apr 2024

Life & Culture

13 Mar 2024

POOR THINGS เมื่อผู้หญิงกลายเป็นสิ่งวิปริต

‘กัลปพฤกษ์’ เขียนถึงหนังที่เพิ่งส่ง เอ็มมา สโตน คว้ารางวัลนำหญิงจากเวทีออสการ์ ขณะที่ตัวหนังก็เข้าชิงรางวัลสาขาภาพยนตร์ยอดเยี่ยมอย่าง Poor Things (2023) กระนั้น เจ้าหนังที่ได้รับคำวิจารณ์แง่บวกจากนักวจารณ์หลากสำนักทั่วโลกเรื่องนี้ ก็ยังดูจะไม่เข้าตาไม่เข้าใจนักวิจารณ์ชาวไทยอยู่ เพราะทำไมหนังที่ว่าด้วยผู้หญิงมันถึงได้ดู ‘ผู้ช๊ายผู้ชาย’ ได้ขนาดนี้กันล่ะ

‘กัลปพฤกษ์’

13 Mar 2024

Life & Culture

19 Feb 2024

รีวิวไม่ใช่โฆษณา วิจารณ์ไม่ใช่สปอยล์ และสปอยล์ไม่ใช่เรื่องคอขาดบาดตาย

คอลัมน์ The Good, the Bad and the Critic โดย ประวิทย์ แต่งอักษร ว่าด้วยเส้นแบ่งระหว่าง ‘งานวิจารณ์’ กับ ‘การริวิว’ ภาพยนตร์ที่หลายครั้งเหลื่อมทับกันในหลายๆ ความหมาย ไปจนถึงการสปอยล์ที่ดูเป็นเรื่องใหญ่โต แต่แท้จริงแล้ว มันสมควรจะต้องเป็นเรื่องคอขาดบาดตายขนาดนั้นเลยหรือ

ประวิทย์ แต่งอักษร

19 Feb 2024

The Good, the Bad and the Critic

22 Jan 2024

วันเกิด โรคประหลาด และการวิจารณ์หนังในความเห็นของผม

บทความแรกของคอลัมน์ The Good, the Bad and the Critic โดย ประวิทย์ แต่งอักษร ชวนสำรวจภูมิทัศน์ของงานวิจารณ์ภาพยนตร์ ความสัมพันธ์ของนักวิจารณ์กับระบบนิเวศของอุตสาหกรรมภาพยนตร์ทั้งมวล ตลอดจนคำถามที่ถูกถามมานานหลายปีแล้วว่า ‘นักวิจารณ์หนังยังจำเป็นอยู่ไหม’ (นั่นสิ!)

ประวิทย์ แต่งอักษร

22 Jan 2024

Life & Culture

8 Jan 2024

ANATOMY OF A FALL ก่อนวันพิพากษาคดีภัสดาฆาต

‘กัลปพฤกษ์’ เขียนถึงหนังเจ้าของรางวัลปาล์มทองคำจากเทศกาลหนังเมืองคานส์ปีล่าสุดอย่าง Anatomy of a Fall (2023) ชวนสำรวจหนังแบบ courtroom drama ที่สำหรับเขาแล้วค่อนข้างต่างไปจากหนังสืบสวนพิจารณาคดีเรื่องอื่นๆ แถมยังมีจุดที่ ‘ไม่ตรงใจ’ เขาเท่าไหร่ด้วย!

‘กัลปพฤกษ์’

8 Jan 2024

Life & Culture

16 Nov 2023

Female Gaze มองหนังผ่านสายตานักวิจารณ์หญิง และพื้นที่ของนักวิจารณ์ในภาพยนตร์โลก

ในโลกที่ ‘ใครก็เขียนถึงหนังได้’ เช่นนี้ บทบาทของนักวิจารณ์ภาพยนตร์อยู่ตรงไหน -ยังไม่ต้องพูดถึงว่า แล้วพื้นที่ของนักวิจารณ์หญิงเป็นอย่างไรในแวดวงนี้

เทศกาลหนังโตเกียวที่ผ่านมา จัดงาน Female Gaze on Film Journalism สำรวจความท้าทายของสื่อและนักวิจารณ์หนัง ในโลกที่ดูเหมือนความเห็นของทุกคนจะหลั่งไหลถาโถมเช่นนี้

พิมพ์ชนก พุกสุข

16 Nov 2023

Life & Culture

27 Sep 2023

MONSTER เพื่อนเกลอสมองหมู

‘กัลปพฤกษ์’ เขียนถึง Monster (2023) ภาพยนตร์ลำดับล่าสุดของ ฮิโรคาสุ โครีเอดะ ผู้กำกับชาวญี่ปุ่น กับเรื่องราวแสนสะท้านสะเทือนหัวใจของเด็กชายสองคน

แต่เดี๋ยวก่อน! อย่าเพิ่งคิดไปว่านี่เป็นบทวิจารณ์ธรรมดาๆ เพราะระดับ ‘กัลปพฤกษ์’ เขาเคย ‘ธรรมดา’ ที่ไหน เมื่อในงานวิจารณ์รอบนี้ เขาปล่อยแถลงการณ์ Dogmouth’23 (แน่นอนว่ามีต้นธารมาจาก Dogma’95 กระแสทำหนังเดนมาร์ก) ว่าด้วยการวิจารณ์อันแสนจะบริสุทธิ์ผุดผ่อง!

‘กัลปพฤกษ์’

27 Sep 2023

Life & Culture

16 Mar 2023

‘การดูหนังเหมือนการกินอาหาร และงานวิจารณ์คือการไปโรงฆ่าสัตว์’ : ประวิทย์ แต่งอักษร

ท่ามกลางเพจหนังต่างๆ มากมายและโลกโซเชียลมีเดียกับภาพลักษณ์ที่ว่า ‘ใครก็แสดงความเห็นได้’ 101 สนทนากับ ประวิทย์ แต่งอักษร นักวิจารณ์ภาพยนตร์ที่อยู่กับชีวิตการวิจารณ์มาร่วมสี่ทศวรรษ ว่าแล้วอย่างนั้นนักวิจารณ์จะยังจำเป็นอยู่อีกหรือไม่ ความคับแคบของวงการหนังไทย และดราม่าตั้งแต่การผูกขาดรอบหนังถึงการเซ็นเซอร์ ส่งผลอย่างไรต่อการวิพากษ์วิจารณ์บ้าง

พิมพ์ชนก พุกสุข

16 Mar 2023

Life & Culture

25 Jul 2022

“เมื่อข้าพเจ้าเจอทัวร์ลง” ประวิทย์ แต่งอักษร และความตายของการวิจารณ์ภาพยนตร์ (?)

ในโลกที่ใครต่างก็แสดงความเห็นถึงภาพยนตร์ได้ แล้วนักวิจารณ์หนังยังจำเป็นอยู่ไหมและจะเป็นอย่างไรหากความเห็นของเราไม่ถูกหูคนกลุ่มใหญ่

บทสรุปปาฐกถาของประวิทย์ แต่งอักษร นักวิจารณ์ภาพยนตร์ในหัวข้อ “เมื่อข้าพเจ้าเจอทัวร์ลง”: การวิจารณ์หนังในยุคสื่อสังคมออนไลน์

พิมพ์ชนก พุกสุข

25 Jul 2022

RECOMMENDED

Social Issues

17 Feb 2017

อ่านข่าวออนไลน์จากสำนักไหน ใครจำได้บ้าง

แน่นอน คนเราอ่านข่าวออนไลน์กันมากขึ้น แต่เราจำได้หรือเปล่าว่าข่าวไหนมาจากสำนักไหน ใครวิเคราะห์อะไรบ้าง ได้ตามข่าวไหนต่อเป็นพิเศษหรือเปล่า วิธีอ่านข่าวออนไลน์ของเราเป็นอย่างไร

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Social Issues

17 Feb 2017

น้ำแข็งขั้วโลกหดตัวต่ำสุดในประวัติศาสตร์ ไม่ใช่แค่ขั้วเดียว-แต่ทั้งสองขั้วเลย!

ขั้วโลกเหนือเป็นฤดูหนาว ขั้วโลกใต้เป็นฤดูร้อน แต่ที่เหมือนกันก็คือ ไม่ว่าจะหนาวจะร้อน ทั้งสองขั้วโลกต่างมีอาการ ‘น้ำแข็งหดตัว’ จนเกิดสถิติใหม่อย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อนด้วยกันทั้งคู่!

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Life & Culture

20 Feb 2017

พื้นที่สาธารณะ พื้นที่ของใครกันแน่?

ดัชนีชี้วัดความสุขประชากรในเมืองขึ้นอยู่กับอะไรบ้าง ห้างสวยแอร์เย็น รถไฟฟ้าไร้โฆษณา หรือจริงๆ มนุษย์เมืองล้วนต้องการพื้นที่สาธารณะที่เป็น ‘สาธารณะ’ จริงๆ

เทพพิทักษ์ มณีพงษ์

20 Feb 2017

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save