fbpx

Economy

10 Jan 2024

ลดไขมันส่วนเกินรัฐไทย ตั้งหลักใหม่ให้ภาคธุรกิจไทยแข่งขันอย่างเท่าเทียม

101 PUB ชวนบรรยง พงษ์พานิช สกนธ์ วรัญญูวัฒนา สฤณี อาชวานันทกุล และสาโรจน์ อธิวิทวัส เปิดวงคุยเพื่อหาแนวทางปฏิรูปตลาดให้ภาคธุรกิจสามารถแข่งขันได้อย่างเท่าเทียม

กรกมล ศรีวัฒน์

10 Jan 2024

Public Policy

8 Dec 2023

ขันน็อตกฎหมายแข่งขันทางการค้า: เงื่อนไขจำเป็นสู่เศรษฐกิจใหม่ที่โตอย่างทั่วถึง

ฉัตร คำแสง เขียนถึงการปฏิรูปกฎหมายแข่งขันทางการค้า ในฐานะเครื่องมือที่จะปลดล็อกศักยภาพเศรษฐกิจไทยให้พ้นไปจากสภาพซึมลึกอันยาวนาน

ฉัตร คำแสง

8 Dec 2023

Economy

14 Nov 2023

วัฒนธรรมผูกขาดกับการยึดกุมกลไกกำกับดูแลของทุนไทย – สฤณี อาชวานันทกุล

101 คุยกับ ‘สฤณี อาชวานันทกุล’ ว่าด้วยวัฒนธรรมผูกขาดและการยึดกุมกลไกกำกับดูแล เพื่อหาคำตอบว่า ทำไมการผูกขาดจึงเป็นเรื่องที่ต่อสู้ได้ยากในสังคมไทย

สมคิด พุทธศรี

14 Nov 2023

Interviews

7 Feb 2023

โรงหนัง-สายหนัง และชะตากรรมหนังไทยปัจจุบัน กับ อุณาโลม จันทร์รุ่งมณีกุล

101 ชวนอุณาโลม จันทร์รุ่งมณีกุล พูดคุยถึงปัญหาในระบบการฉายภาพยนตร์ของประเทศไทย ที่ส่งผลให้ศิลปินไร้อำนาจ และคนดูไร้ทางเลือก

ศุภวิชญ์ ศิริสวัสดิ์วัฒนา

7 Feb 2023

101PUB

19 Oct 2022

เงื่อนไขที่ควรเรียกร้อง หาก กสทช. ‘จำต้อง’ อนุญาตดีลทรู+ดีแทค

การควบรวมทรู+ดีแทคสร้างผลกระทบต่อตลาดและผู้บริโภคอย่างรุนแรง 101 PUB เสนอเงื่อนไขขั้นต่ำที่ กสทช. ควรกำหนหาก ‘จำต้อง’ อนุญาตให้ควบรวม

ฉัตร คำแสง

19 Oct 2022

Economy

1 Aug 2022

AIS ซื้อ 3BB: เคราะห์กรรมซ้ำซากของผู้บริโภค?

AIS ซื้อกิจการ 3BB ทำให้ตลาดกระจุกตัวสูง เหมือนช่วง 15 ปีก่อน เสี่ยงทำให้แข่งขันน้อยลง ราคาเพิ่มขึ้น คุณภาพลดลง ต้องจับตา กสทช. กำกับดูแล

กษิดิ์เดช คำพุช

1 Aug 2022

Business

15 Nov 2020

ดีลควบรวม ‘ซีพี’ กับ ‘เทสโก้ โลตัส’ : รัฐประหารทางเศรษฐกิจที่ยังมาไม่ถึง?

กนกนัย ถาวรพานิช เขียนถึงข้อกังวลที่มีต่อการควบรวมกิจการระหว่างซีพีและเทสโก้ ซึ่งสะท้อนว่ารัฐอาจไม่ได้คุ้มครองเสรีภาพทางการเมืองและเสรีภาพทางเศรษฐกิจอย่างที่พึงกระทำ

กนกนัย ถาวรพานิช

15 Nov 2020

Political Economy

1 Jun 2020

ตอบโจทย์สู้ความเหลื่อมล้ำ-ต้านการผูกขาด-สร้างความยั่งยืน ยุค COVID-19

101 สนทนากับ “สฤณี อาชวานันทกุล” ว่าด้วยนโยบายเศรษฐกิจที่ให้ความสำคัญกับการจัดการความเหลื่อมล้ำ การต่อสู้การผูกขาด และการสร้างความยั่งยืนในยุค COVID-19

ณรจญา ตัญจพัฒน์กุล

1 Jun 2020

Economic Focus

29 Jan 2020

‘Break Up Big Tech’ : เมื่อนักการเมืองต้องการลดอิทธิพลบริษัทไอทียักษ์ใหญ่

อิสริยะ ไพรีพ่ายฤทธิ์ สำรวจเบื้องหลังแคมเปญต่อต้านการผูกขาดของบริษัทไอทียักษ์ใหญ่ในการเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐ 2020

อิสริยะ ไพรีพ่ายฤทธิ์

29 Jan 2020

Political Economy

3 Jul 2019

ผูกขาดอย่างแท้ ‘True’ : เมื่อมหานครไร้สายต้องแลกมาด้วยการผูกขาด (ซ้ำซาก)

เมื่อภูมิทัศน์สวยงามต้องแลกมาด้วยการผูกขาดและการค้าไม่เป็นธรรม สมคิด พุทธศรี ตั้งคำถามต่อกรณีกรุงเทพมหานคร โดยบริษัท กรุงเทพธนาคม จำกัด ให้สิทธิผูกขาดกับทรูในการดำเนินกิจการท่อร้อยสายสื่อสาร

สมคิด พุทธศรี

3 Jul 2019

Law

9 Jan 2018

มอง ปตท. แจกข้าว ผ่านสายตากฎหมายการแข่งขันทางการค้า

กนกนัย ถาวรพานิช คณะนิติศาสตร์ ธรรมศาสตร์ มองกรณี ปตท. แจกข้าว โดยความร่วมมือของกระทรวงพลังงาน ผ่านสายตากฎหมายแข่งขันทางการค้า

กนกนัย ถาวรพานิช

9 Jan 2018

Law

5 Apr 2017

การปฏิรูปกฎหมายแข่งขันทางการค้า : ความหวังใหม่ของสังคมไทย?

ใครๆ ก็รู้สึกว่าเศรษฐกิจไทยเต็มไปด้วยการผูกขาด ประสบการณ์ถูกเอาเปรียบในฐานะผู้บริโภคก็เคยโดนเข้ากับตัวกันทั้งนั้น แต่เชื่อหรือไม่ว่า ตั้งแต่กฎหมายแข่งขันทางการค้าถูกบังคับใช้ในปี 2542 ยังไม่เคยมีผู้ประกอบธุรกิจถูกลงโทษแม้แต่รายเดียว!

เมื่อปลายเดือนมีนาคม 2560 มีการแก้ไขกฎหมายแข่งขันทางการค้าให้มีเขี้ยวเล็บในการสร้างความเป็นธรรมในการแข่งขัน และลงมือจัดการผู้ผูกขาดที่ใช้อำนาจในทางที่ผิดได้มากขึ้น

กนกนัย ถาวรพานิช อาจารย์คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ผู้ร่ำเรียนเขียนอ่านด้านกฎหมายแข่งขันทางการค้ามาอย่างต่อเนื่อง ชวนสำรวจประเด็นสำคัญของกฎหมายฉบับใหม่ และตอบคำถามว่า ทำอย่างไรให้การปฏิรูปกฎหมายแข่งขันทางการค้าในครั้งนี้เป็นความหวังใหม่ของสังคมไทยได้อย่างแท้จริง

กนกนัย ถาวรพานิช

5 Apr 2017

RECOMMENDED

Social Issues

17 Feb 2017

อ่านข่าวออนไลน์จากสำนักไหน ใครจำได้บ้าง

แน่นอน คนเราอ่านข่าวออนไลน์กันมากขึ้น แต่เราจำได้หรือเปล่าว่าข่าวไหนมาจากสำนักไหน ใครวิเคราะห์อะไรบ้าง ได้ตามข่าวไหนต่อเป็นพิเศษหรือเปล่า วิธีอ่านข่าวออนไลน์ของเราเป็นอย่างไร

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Social Issues

17 Feb 2017

น้ำแข็งขั้วโลกหดตัวต่ำสุดในประวัติศาสตร์ ไม่ใช่แค่ขั้วเดียว-แต่ทั้งสองขั้วเลย!

ขั้วโลกเหนือเป็นฤดูหนาว ขั้วโลกใต้เป็นฤดูร้อน แต่ที่เหมือนกันก็คือ ไม่ว่าจะหนาวจะร้อน ทั้งสองขั้วโลกต่างมีอาการ ‘น้ำแข็งหดตัว’ จนเกิดสถิติใหม่อย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อนด้วยกันทั้งคู่!

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Life & Culture

20 Feb 2017

พื้นที่สาธารณะ พื้นที่ของใครกันแน่?

ดัชนีชี้วัดความสุขประชากรในเมืองขึ้นอยู่กับอะไรบ้าง ห้างสวยแอร์เย็น รถไฟฟ้าไร้โฆษณา หรือจริงๆ มนุษย์เมืองล้วนต้องการพื้นที่สาธารณะที่เป็น ‘สาธารณะ’ จริงๆ

เทพพิทักษ์ มณีพงษ์

20 Feb 2017

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save