fbpx

World

24 Oct 2023

ไต้หวันกับการขยายแนวป้องกันตนเองของญี่ปุ่น

ธีวินท์ สุพุทธิกุล ชวนสำรวจและวิเคราะห์ท่าทีของญี่ปุ่นต่อการสู้รบและความขัดแย้งที่ปะทุขึ้นในหลายภูมิภาคทั่วโลก พิจารณาเชื่อมโยงกับยุทธศาสตร์ ‘การป้องปราม’ ภัยคุกคามจีน ตลอดจนแนวคิด ‘การป้องกันตนเองร่วม’ ที่ทำให้ญี่ปุ่นขยายแนวตั้งรับครอบคลุมถึงเกาะไต้หวัน

ธีวินท์ สุพุทธิกุล

24 Oct 2023

World

11 Apr 2023

ไต้หวันกับสองการเดินทาง

อาร์ม ตั้งนิรันดร เขียนถึง ทางแยกระหว่างไต้หวันที่สืบมาจากสาธารณรัฐจีนในอดีตกับไต้หวันที่ไม่ยึดโยงตัวเองกับจีนแผ่นดินใหญ่ ท่ามกลางบริบทที่เหมือนจะบีบให้ไต้หวันต้องเลือกในไม่ช้านี้

อาร์ม ตั้งนิรันดร

11 Apr 2023

Asia

19 Feb 2023

‘ผัดกะเพรามะเขือเทศ’ และการเดินทางของกองพล 93

มัธธาณะ รอดยิ้ม ชวนไขปริศนาผัดกะเพรามะเขือเทศที่ไต้หวัน ซึ่งเป็นไปได้ว่าเชื่อมโยงกับกองพล 93 จากยูนนานที่ล่าถอยจนมาตั้งรกรากทางภาคเหนือของไทย

มัธธาณะ รอดยิ้ม

19 Feb 2023

World

27 Dec 2022

สงคราม-มหาอำนาจแยกขั้ว: การเมืองโลก 2022 กลางทวิวิกฤต

101 ชวนย้อนมองระเบียบโลกปี 2022 เมื่อโลกกำลังเข้าสู่การเปลี่ยนผ่านดุลอำนาจไปสู่สองขั้วอำนาจระหว่างจีน-สหรัฐฯ และเต็มไปด้วยความตึงเครียดทางภูมิรัฐศาสตร์ที่ปะทุขึ้นทั้งในสงครามรัสเซีย-ยูเครน ช่องแคบไต้หวัน และอินโด-แปซิฟิก

ณรจญา ตัญจพัฒน์กุล

27 Dec 2022

World

25 Nov 2022

คิดไปทางไหนโลกหมุนไปทางนั้น? จากยูเครน ไต้หวัน สู่เวทีประชุมผู้นำโลก

ธีวินท์ สุพุทธิกุล วิเคราะห์สถานการณ์ความตึงเครียดในการเมืองโลก ผ่านโลกทัศน์แบบ ‘คิดไปทางไหนทำให้ความจริงเป็นไปตามนั้น’ ของรัฐมหาอำนาจ และสัญญาณการคลายลงของโลกทัศน์ดังกล่าวหลังการประชุมสุดยอด 3 เวทีใหญ่ที่ผ่านมา

ธีวินท์ สุพุทธิกุล

25 Nov 2022

China

22 Jul 2022

เงื่อนไขที่จะเกิดสงครามไต้หวัน

อาร์ม ตั้งนิรันดร เขียนถึง เงื่อนไขที่จะผลักดันให้ยุทธศาสตร์ ‘ความคลุมเครือ’ ของสหรัฐฯ และจีนต่อไต้หวันเปลี่ยนไปสู่ ‘ความชัดเจน’ ที่จะเป็นชนวนให้สงครามไต้หวันปะทุขึ้นได้

อาร์ม ตั้งนิรันดร

22 Jul 2022

Dancing with Leviathan

5 Oct 2021

จาก ‘หุบเขาเม็ดทราย’ สู่ ‘เครือข่ายภูผาหยก’: เมื่อจอมยุทธ์ไต้หวันใน Silicon Valley กลับบ้านเพื่อสร้างอุตสาหกรรมใหม่

แบ๊งค์ งามอรุณโชติ ชวนย้อนดูประสบการณ์ของไต้หวันที่แก้ปัญหาสมองไหล ดึงดูดคนมีความสามารถจาก Silicon Valley กลับมาช่วยพัฒนาอุตสาหกรรมใหม่ของประเทศจนสำเร็จ

แบ๊งค์ งามอรุณโชติ

5 Oct 2021

Life & Culture

22 Jul 2021

ประเทศคอมมิวนิสต์ขี้เมาจริงหรือ?

มัธธาณะ รอดยิ้ม ชวนสำรวจวัฒนธรรมการดื่มในประเทศคอมมิวนิสต์และอดีตคอมมิวนิสต์ เมื่อมุมมองต่อแอลกอฮอล์ของรัฐส่งผลไปถึงการควบคุมในสังคม

มัธธาณะ รอดยิ้ม

22 Jul 2021

Dancing with Leviathan

10 May 2021

เมื่อปีศาจจับคู่ร่ายรำ: ความสัมพันธ์ระหว่างรัฐ-ทุน ในเกาหลีใต้ ไต้หวัน สิงคโปร์ สู่บทเรียนต่อไทย

แบ๊งค์ งามอรุณโชติ พาดูการจัดรูปแบบความสัมพันธ์ระหว่างรัฐและกลุ่มทุน ในเกาหลีใต้ ไต้หวัน และสิงคโปร์ พร้อมถอดบทเรียนสู่ข้อเสนอแนะต่อประเทศไทย

แบ๊งค์ งามอรุณโชติ

10 May 2021

Economy

20 Apr 2021

ชิปหาย–คนรุ่นใหม่–สมองไหล: ชิป 3 นาโนเมตรของไต้หวันกับรัฐสภาหมื่นล้านของไทย

วีระยุทธ กาญจน์ชูฉัตร มองความสำเร็จของไต้หวันในการขับเคลื่อนอุตสาหกรรมไฮเทค จนเป็นเจ้าการผลิตชิปของโลก ด้วยการปรับเปลี่ยนการเมืองให้สอดคล้องความฝันคนรุ่นใหม่ แก้ปัญหาสมองไหล ขณะที่ไทยกลับเดินทิศทางตรงกันข้าม

วีระยุทธ กาญจน์ชูฉัตร

20 Apr 2021

Life & Culture

21 Aug 2020

หลี่เติงฮุย บิดาประชาธิปไตยไต้หวัน รัฐบุรุษหลากสีสันผู้ยิ่งยง

ธีรภัทร เจริญสุข เขียนถึงหลี่เติงฮุย รัฐบุรุษผู้นำประชาธิปไตยมาสู่ไต้หวัน ที่ถึงแก่อสัญกรรมในวัย 97 ปี ในปลายเดือนกรกฎาคม 2020

ธีรภัทร เจริญสุข

21 Aug 2020

Media

25 Jul 2020

101 In Focus Ep.49 : การลุกฮือของประชาชนผู้เหลือทนในเกาหลีใต้และไต้หวัน

101 พาไปรู้จักประวัติศาสตร์การลุกฮือของประชาชนในเกาหลีใต้และไต้หวัน ที่เมื่อประมาณ 30-40 ปีก่อนยังอยู่ใต้อำนาจเผด็จการ แต่บัดนี้ประชาธิปไตยเบ่งบานบนแผ่นดิน

กองบรรณาธิการ

25 Jul 2020

Life & Culture

9 Jul 2020

ลบ-สร้าง-เล่า : ชาติที่ถูกสร้าง ผ่านพิพิธภัณฑ์บนเกาะไต้หวัน

นิติธร สุรบัณฑิตย์ เขียนถึงการสร้างชาติของไต้หวันผ่านพิพิธภัณฑ์ ที่แตกต่างจากจีนแผ่นดินใหญ่และญี่ปุ่นซึ่งเคยครองอำนาจในเกาะแห่งนี้

นิติธร สุรบัณฑิตย์

9 Jul 2020
1 2

RECOMMENDED

Social Issues

17 Feb 2017

อ่านข่าวออนไลน์จากสำนักไหน ใครจำได้บ้าง

แน่นอน คนเราอ่านข่าวออนไลน์กันมากขึ้น แต่เราจำได้หรือเปล่าว่าข่าวไหนมาจากสำนักไหน ใครวิเคราะห์อะไรบ้าง ได้ตามข่าวไหนต่อเป็นพิเศษหรือเปล่า วิธีอ่านข่าวออนไลน์ของเราเป็นอย่างไร

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Social Issues

17 Feb 2017

น้ำแข็งขั้วโลกหดตัวต่ำสุดในประวัติศาสตร์ ไม่ใช่แค่ขั้วเดียว-แต่ทั้งสองขั้วเลย!

ขั้วโลกเหนือเป็นฤดูหนาว ขั้วโลกใต้เป็นฤดูร้อน แต่ที่เหมือนกันก็คือ ไม่ว่าจะหนาวจะร้อน ทั้งสองขั้วโลกต่างมีอาการ ‘น้ำแข็งหดตัว’ จนเกิดสถิติใหม่อย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อนด้วยกันทั้งคู่!

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Life & Culture

20 Feb 2017

พื้นที่สาธารณะ พื้นที่ของใครกันแน่?

ดัชนีชี้วัดความสุขประชากรในเมืองขึ้นอยู่กับอะไรบ้าง ห้างสวยแอร์เย็น รถไฟฟ้าไร้โฆษณา หรือจริงๆ มนุษย์เมืองล้วนต้องการพื้นที่สาธารณะที่เป็น ‘สาธารณะ’ จริงๆ

เทพพิทักษ์ มณีพงษ์

20 Feb 2017

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save