fbpx

Issue of the Age

24 Apr 2020

“ต้องรักษาคน ไม่ใช่รักษาโรค” มองทางออกวิกฤต-โรดแมปเปิดเมือง กับ นพ.สุรพงษ์ สืบวงศ์ลี

101 ชวนหาคำตอบถึงกลยุทธ์ออกจากวิกฤตโรคระบาด กับ นพ.สุรพงษ์ สืบวงศ์ลี ทั้งโรดแมปการเปิดเมือง มาตรการควบคุมโรคและ new normal ของสังคมหลังจากนี้

วจนา วรรลยางกูร

24 Apr 2020

Issue of the Age

21 Apr 2020

อสม. อาวุธลับในการยับยั้ง COVID-19

วันชัย ตันติวิทยาพิทักษ์ เขียนถึง ‘อสม.’ มดงานในระบบสาธารณสุขไทยที่ทำงานครอบคลุมทั่วประเทศ และมีส่วนสำคัญในการควบคุม COVID-19 ของประเทศไทย

วันชัย ตันติวิทยาพิทักษ์

21 Apr 2020

Film & Music

20 Apr 2020

จับ “ซอมบี้” มาส่องกระจก: เงาสลัวของ Covid-19 ในซีรีส์ Kingdom

เมื่อโรคระบาดอาจกลายเป็นเครื่องมือทางการเมือง? ณัฐดนย์ โกศัยธนอนันท์ ชวนวิเคราะห์การเมืองและการแพร่ระบาดของซอมบี้ในซีรีส์ Kingdom เทียบกับวิกฤต Covid-19 ในไทย

ณัฐดนย์ โกศัยธนอนันท์

20 Apr 2020

Books

20 Apr 2020

โรคระบาดในวรรณกรรม

สุนันทา วรรณสินธ์ เบล เขียนถึงโรคระบาดที่ปรากฏในวรรณกรรม 4 เรื่อง (World War Z, The Plague, Blindness และ The Masque of the Red Death) พร้อมเรื่องราวที่มีส่วนคล้ายชีวิตจริง จนเกือบล้อกับสถานการณ์โลกปัจจุบัน

สุนันทา วรรณสินธ์ เบล

20 Apr 2020

Education

16 Apr 2020

รับมือการศึกษาในยุค COVID-19 : ความเหลื่อมล้ำและทรัพยากรของผู้เรียนจะยิ่งสำคัญ

ภูมิศรัณย์ ทองเลี่ยมนาค เขียนถึงผลกระทบทางการศึกษา จากวิกฤต COVID-19 เมื่อความเหลื่อมล้ำในสังคมทำให้เด็กเข้าถึงการเรียนรู้ในระบบออนไลน์ได้อย่างไม่เท่าเทียม

ภูมิศรัณย์ ทองเลี่ยมนาค

16 Apr 2020

Asia

16 Apr 2020

ผลกระทบที่ไม่มีทางเท่ากัน เมื่อการปิดเมืองกัดกินแรงงานนอกระบบอินเดีย

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก ชี้ให้เห็นถึงผลกระทบจากมาตรการล็อกดาวน์อินเดียที่ความเหลื่อมล้ำทำให้แรงงานนอกระบบและชนชั้นล่างเจ็บหนักกว่าคนกลุ่มอื่น

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก

16 Apr 2020

Issue of the Age

15 Apr 2020

ค่ำคืนที่ปารีส ก่อนความเงียบเข้าคุกคาม

วจนา วรรลยางกูร บันทึกบรรยากาศของปารีสก่อนจะถูกล็อกดาวน์เพราะโคโรนาไวรัส เสียงชนแก้วครั้งสุดท้ายถูกแทนที่ด้วยความเงียบที่เข้ามาคุกคามทั้งโลกจนเมืองร้างไร้ผู้คน

วจนา วรรลยางกูร

15 Apr 2020

Thai Politics

13 Apr 2020

รัฐเหลวแหลกและความตายแปลกหน้า  

สมชาย ปรีชาศิลปกุล มองปรากฏการณ์ความตื่นตัวต่อโรคระบาดของคนไทย ที่มีสาเหตุส่วนหนึ่งจากภาวะล้มเหลวของรัฐไทยต่อการเผชิญหน้าภัยพิบัติ

สมชาย ปรีชาศิลปกุล

13 Apr 2020

Spotlights

9 Apr 2020

จากวิกฤตโรคระบาด สู่วิกฤตเศรษฐกิจ (2): ข้อเปรียบเทียบต่อวิกฤตต้มยำกุ้ง

แบ๊งค์ งามอรุณโชติ วิเคราะห์เปรียบเทียบวิกฤตเศรษฐกิจปัจจุบันกับวิกฤติเศรษฐกิจ 2540 เพื่อตั้งคำถามว่า จะเกิดความเปลี่ยนแปลงสำคัญอะไรบ้างหรือไม่ต่อภูมิทัศน์​ เศรษฐกิจ​ สังคม​ การเมืองไทย

แบ๊งค์ งามอรุณโชติ

9 Apr 2020

Economic Focus

8 Apr 2020

คนรอดหรือเศรษฐกิจรอด? : เมื่อโลกเผชิญหน้าวิกฤตเศรษฐกิจจำเป็น

พิพัฒน์ เหลืองนฤมิตชัย วิเคราะห์วิกฤตเศรษฐกิจยุค COVID-19 อะไรคือความแตกต่างของวิกฤตที่เราไม่เคยพบเจอมาก่อน

พิพัฒน์ เหลืองนฤมิตชัย

8 Apr 2020

Spotlights

8 Apr 2020

จากวิกฤตโรคระบาด สู่วิกฤตเศรษฐกิจ (1) : ความเปราะบางของเศรษฐกิจไทย

แบ๊งค์ งามอรุณโชติ ฉายภาพผลกระทบวิกฤตเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นทั่วโลก พร้อมวิเคราะห์ความเปราะบางของเศรษฐกิจไทยในห้วงเวลาแห่งความยากลำบาก

แบ๊งค์ งามอรุณโชติ

8 Apr 2020

Thai Politics

7 Apr 2020

เมื่อต้องเผชิญ COVID-19 หรือรัฐราชการจะพาเราไปสู่รัฐล้มเหลว?

ชัชฎา กำลังแพทย์ เขียนถึงรัฐราชการไทยที่มีลักษณะ ‘รวมศูนย์แบบแตกกระจาย’ และการรับมือวิกฤตไวรัสครั้งนี้อาจนำไปสู่รัฐล้มเหลว

กองบรรณาธิการ

7 Apr 2020

Issue of the Age

6 Apr 2020

ตีความสถานการณ์ไทยจากข้อมูล COVID-19 ตัวเลขบอกอะไรเรา?

วรรษกร สาระกุล สำรวจข้อมูลสถานการณ์ COVID-19 ในประเทศไทย และชวนทำความเข้าใจความหมายที่อยู่เบื้องหลังตัวเลข ว่าสถานการณ์เป็นอย่างไร มีข้อมูลอะไรที่เรายังไม่รู้

วรรษกร สาระกุล

6 Apr 2020

Art & Design

3 Apr 2020

Take a Deeper Read

ธนาวิ โชติประดิษฐ ชวนคุยเรื่องโรคระบาดในงานศิลปะของนิโกลาส์ ปูแซ็ง จิตรกรชาวฝรั่งเศส ผ่านการเขียนจดหมายเปิดผนึกถึงเพื่อนสนิทในวันที่โควิด-19 คุกคามคนทั้งโลก

ธนาวิ โชติประดิษฐ

3 Apr 2020
1 3 4 5

RECOMMENDED

Social Issues

17 Feb 2017

อ่านข่าวออนไลน์จากสำนักไหน ใครจำได้บ้าง

แน่นอน คนเราอ่านข่าวออนไลน์กันมากขึ้น แต่เราจำได้หรือเปล่าว่าข่าวไหนมาจากสำนักไหน ใครวิเคราะห์อะไรบ้าง ได้ตามข่าวไหนต่อเป็นพิเศษหรือเปล่า วิธีอ่านข่าวออนไลน์ของเราเป็นอย่างไร

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Social Issues

17 Feb 2017

น้ำแข็งขั้วโลกหดตัวต่ำสุดในประวัติศาสตร์ ไม่ใช่แค่ขั้วเดียว-แต่ทั้งสองขั้วเลย!

ขั้วโลกเหนือเป็นฤดูหนาว ขั้วโลกใต้เป็นฤดูร้อน แต่ที่เหมือนกันก็คือ ไม่ว่าจะหนาวจะร้อน ทั้งสองขั้วโลกต่างมีอาการ ‘น้ำแข็งหดตัว’ จนเกิดสถิติใหม่อย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อนด้วยกันทั้งคู่!

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Life & Culture

20 Feb 2017

พื้นที่สาธารณะ พื้นที่ของใครกันแน่?

ดัชนีชี้วัดความสุขประชากรในเมืองขึ้นอยู่กับอะไรบ้าง ห้างสวยแอร์เย็น รถไฟฟ้าไร้โฆษณา หรือจริงๆ มนุษย์เมืองล้วนต้องการพื้นที่สาธารณะที่เป็น ‘สาธารณะ’ จริงๆ

เทพพิทักษ์ มณีพงษ์

20 Feb 2017

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save