fbpx

Documentary

2 Jun 2020

‘กลับตัวไม่ได้ เดินต่อไม่ถึง’ ชีวิตแรงงานพม่าในกรุงเทพฯ หลังโควิด เมื่อคนทวายไม่อาจกลับบ้าน

มองชีวิตแรงงานชาวทวาย ที่อยู่รวมกันเป็นชุมชนหลังวัดไผ่ตัน พวกเขาอยู่อย่างไรในช่วงล็อคดาวน์ เมื่อไม่มีงาน ไม่มีเงิน และไม่ได้อยู่บ้าน พวกเขาแก้ปัญหาชีวิตอย่างไร

ปาณิส โพธิ์ศรีวังชัย

2 Jun 2020

Talk Programmes

28 May 2020

101 One-on-One Ep.147 : เมื่อเส้นแบ่งบ้านเรือนเลือนราง : มองที่อยู่อาศัยหลังโควิด-19 กับ รชพร ชูช่วย

หลังจากเกิดวิกฤตโควิด-19 รูปแบบการอยู่อาศัยของผู้คนจะเปลี่ยนไปอย่างไร 101 ชวน รชพร ชูช่วย อาจารย์ประจำคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มาร่วมคิดในประเด็นเหล่านี้

101 One-on-One

28 May 2020

Trends

28 May 2020

ภัยเหลือง (Yellow Peril) : ศัพท์ที่กลับมาฮิตจากวิกฤตโควิด-19

คอลัมน์ สารกันเบื่อ เดือนนี้ เอกศาสตร์ สรรพช่าง พาไปรู้จักประวัติศาสตร์ของ ศัพท์ ‘ภัยเหลือง’ ที่ใกล้เคียงกับการเหยียดคนเอเชียในปัจจุบัน หลังการเกิดไวรัสโควิด-19

เอกศาสตร์ สรรพช่าง

28 May 2020

Trends

28 May 2020

“คลื่นยักษ์เก่า” ที่มาก่อนกำหนด – อ่านอนาคตหลังโควิด

สันติธาร เสถียรไทย เขียนถึง ‘คลื่นยักษ์เก่า’ เทรนด์ 6 เรื่องที่เคยถูกคาดการณ์ว่าจะเกิดขึ้นในโลกอนาคต แต่ถูกวิกฤตโควิด-19เร่งให้ ‘มาถึงเร็วขึ้น’

สันติธาร เสถียรไทย

28 May 2020

China

25 May 2020

จีนในสมรภูมิ COVID-19 กับ วาสนา วงศ์สุรวัฒน์

101 สนทนากับ วาสนา วงศ์สุรวัฒน์ จากภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สำรวจความท้าทายที่ประเทศมหาอำนาจต้องเจอ ทั้งบทเรียนการรับมือโควิด สังคม การเมือง และเศรษฐกิจของจีนที่เปลี่ยนไป จีนกับการประท้วงในฮ่องกง ไปจนถึงความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ จีน-อเมริกา และศึกทวิตภพ “พันธมิตรชานม”

ศุภาวรรณ คงสุวรรณ์

25 May 2020

Issue of the Age

15 May 2020

มองความจริงของสื่อ ผ่านข่าวลวงในยุคโควิด กับ วรพจน์ วงศ์กิจรุ่งเรือง

สรุปความจากรายการ 101 One-On-One Ep.135 : ‘มองความจริงของสื่อ ผ่านข่าวลวงในยุคโควิด’ – วรพจน์ วงศ์กิจรุ่งเรือง ว่าด้วยเรื่องเฟคนิวส์ในยุคโควิด และการทำหน้าที่ของสื่อในยุคดิจิทัล

ปาณิส โพธิ์ศรีวังชัย

15 May 2020

Issue of the Age

13 May 2020

เมื่อโลกป่วยเราก็ป่วย: ทำไมต้องรักษาธรรมชาติเพื่อหยุดโรคระบาดครั้งต่อไป  

เพชร มโนปวิตร ชี้ประเด็นเรื่องการรักษาธรรมชาติ เพื่อช่วยให้โลกอยู่ต่อไปได้ และยังช่วยป้องกันการแพร่ระบาดอย่างร้ายแรงของเชื้อโลกด้วย

เพชร มโนปวิตร

13 May 2020

Issue of the Age

13 May 2020

โควิด-19 กำลังกลายพันธุ์?

นำชัย ชีววิวรรธน์ พาไปรู้จัก SARS-CoV-2 ต้นเหตุของโควิด-19 ผ่านรูปแบบพันธุกรรม หากไวรัสกลายพันธุ์ขึ้นมาจะเกิดอะไรขึ้น และเราจะรอดพ้นจากไวรัสนี้ได้อย่างไรในอนาคต

นำชัย ชีววิวรรธน์

13 May 2020

Happy Family

29 Apr 2020

ร่องรอยวิกฤตโควิด ในชีวิตคนต่างเจเนอเรชัน : ภูเบศร์ สมุทรจักร

สรุปความจากรายการ 101 One-On-One Ep.127 : ร่องรอยวิกฤตโควิดในชีวิตคนต่างเจเนอเรชัน – ภูเบศร์ สมุทรจักร ว่าด้วยผลกระทบของโควิดต่อเจเนอเรชันและครอบครัว

ปาณิส โพธิ์ศรีวังชัย

29 Apr 2020

Happy Family

24 Apr 2020

101 One-On-One Ep.127 : “ร่องรอยวิกฤตโควิด ในชีวิตคนต่างเจเนอเรชัน” – ภูเบศร์ สมุทรจักร

101 คุยกับ ภูเบศร์ สมุทรจักร กลุ่มสาขาวิชาประชากรศาสตร์ สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล ผู้ทำวิจัยเกี่ยวกับเรื่องครอบครัวและเจเนอเรชัน

101 One-on-One

24 Apr 2020

Economic Focus

24 Apr 2020

‘เศรษฐกิจโรคระบาด’ : โมเดลเศรษฐกิจแบบใหม่หลังโควิด-19

สมคิด พุทธศรี เขียนถึง โมเดล ‘เศรษฐกิจโรคระบาด’ ของ Joshua Gans ที่นำเสนอการบริหารจัดการเศรษฐกิจอย่างเป็นระบบในโลกยุคหลังโควิด-19

สมคิด พุทธศรี

24 Apr 2020

Issue of the Age

17 Apr 2020

วิกฤตเชื้อโรคและแม่น้ำทุ่งนาที่หายไป : ศึกสองด้านของอีสาน กับ ไชยณรงค์ เศรษฐเชื้อ

สรุปความจากรายการ 101 One-On-One Ep.119 กับไชยณรงค์ เศรษฐเชื้อ ปัญหาโควิด-19 ในอีสานเป็นแบบไหน เมื่อผู้คนทำงานในเมืองไม่ได้ ที่บ้านยังมีแม่น้ำและทุ่งนาเหลืออยู่ไหม ปัญหาเรื่องทรัพยากรและโรคระบาดสอดคล้องกันอย่างไร

ปาณิส โพธิ์ศรีวังชัย

17 Apr 2020

Economic Focus

15 Apr 2020

ความเหลื่อมล้ำหลายเสี่ยง เมื่อโควิดปิดเมือง: ผลกระทบต่อตลาดแรงงานไทย

4 นักเศรษฐศาสตร์จาก 4 สถาบันวิชาการชั้นนำเปิดผลวิจัยสดใหม่ว่า ด้วยความเสี่ยงและผลกระทบของนโยบายปิดเมืองต่อตลาดแรงงานไทย

กองบรรณาธิการ

15 Apr 2020
1 2 3 4

RECOMMENDED

Social Issues

17 Feb 2017

อ่านข่าวออนไลน์จากสำนักไหน ใครจำได้บ้าง

แน่นอน คนเราอ่านข่าวออนไลน์กันมากขึ้น แต่เราจำได้หรือเปล่าว่าข่าวไหนมาจากสำนักไหน ใครวิเคราะห์อะไรบ้าง ได้ตามข่าวไหนต่อเป็นพิเศษหรือเปล่า วิธีอ่านข่าวออนไลน์ของเราเป็นอย่างไร

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Social Issues

17 Feb 2017

น้ำแข็งขั้วโลกหดตัวต่ำสุดในประวัติศาสตร์ ไม่ใช่แค่ขั้วเดียว-แต่ทั้งสองขั้วเลย!

ขั้วโลกเหนือเป็นฤดูหนาว ขั้วโลกใต้เป็นฤดูร้อน แต่ที่เหมือนกันก็คือ ไม่ว่าจะหนาวจะร้อน ทั้งสองขั้วโลกต่างมีอาการ ‘น้ำแข็งหดตัว’ จนเกิดสถิติใหม่อย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อนด้วยกันทั้งคู่!

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Life & Culture

20 Feb 2017

พื้นที่สาธารณะ พื้นที่ของใครกันแน่?

ดัชนีชี้วัดความสุขประชากรในเมืองขึ้นอยู่กับอะไรบ้าง ห้างสวยแอร์เย็น รถไฟฟ้าไร้โฆษณา หรือจริงๆ มนุษย์เมืองล้วนต้องการพื้นที่สาธารณะที่เป็น ‘สาธารณะ’ จริงๆ

เทพพิทักษ์ มณีพงษ์

20 Feb 2017

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save