สังขละบุรี : ชายแดน ชุมชน คน โควิด
ธิติ มีแต้ม สำรวจบุคลิกและนิสัยใจคอของชุมชนชายแดน อ.สังขละบุรี ที่ปรากฏกายออกมาท่ามกลางสถานการณ์โควิด
ธิติ มีแต้ม สำรวจบุคลิกและนิสัยใจคอของชุมชนชายแดน อ.สังขละบุรี ที่ปรากฏกายออกมาท่ามกลางสถานการณ์โควิด
พิชญ์ พงษ์สวัสดิ์ และ ขวัญเรือน พันธ์พีระพิชย์ เขียนถึงคำทำนายของโหรและหมอดูในวิกฤตโควิด-19 ที่สะท้อนความเป็นไปทางการเมืองอย่างน่าสนใจ
ชัชฎา กำลังแพทย์ เขียนถึงแนวปฏิบัติของรัฐไทยต่อทหารและคณะทูตต่างประเทศ รวมไปถึงแขกพิเศษอื่น ที่สะท้อนการใช้อำนาจอภิสิทธิ์ชนสร้างพื้นที่ ‘กักกัน’ ของตนเอง
ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก เขียนถึงคนจีนโพ้นทะเลในอินเดียที่ต้องเผชิญต่อกระแสเหยียดเชื้อชาติตั้งแต่สมัยสงครามเย็น จนกระทั่งปัจจุบันเมื่อความขัดแย้งอินเดีย-จีนระลอกใหม่ปะทุขึ้นมา
101 สนทนากับอธิภัทร มุทิตาเจริญ ว่าด้วยโจทย์ใหม่ของนโยบายการคลังสู้วิกฤตเศรษฐกิจ ตั้งแต่เรื่องหนี้สาธารณะ การใช้จ่ายของรัฐบาล ภาษี และวินัยการคลัง
คอลัมน์ Shaped by Architecture เดือนนี้ รชพร ชูช่วย เขียนถึงการใช้ชีวิตในสองโลก ระหว่าง ‘ออนไลน์’ และ ‘ออฟไลน์’ ในช่วงการระบาดของโควิด ที่อาจจะเป็นจุดเปลี่ยนครั้งใหญ่ในการทำงานและการเรียนการสอน
นำชัย ชีววิวรรธน์ เขียนถึงความเชื่อที่คลาดเคลื่อนในยุคโควิด โดยหยิบเอางานวิจัยที่น่าสนใจมาคลี่ให้ดูว่า แท้จริงแล้ว ‘ความเห็น’ กับ ‘ความจริง’ เหมือนหรือต่างกันอย่างไรบ้าง
ภัททา เกิดเรือง ชวนคุยถึงความเป็นไปได้และข้อจำกัดในการเรียนออนไลน์ในบริบทของประเทศไทยที่อยู่ภายใต้เงาใหญ่ของความเหลื่อมล้ำ พร้อมทั้งเสนอทางเลือกใหม่สำหรับการศึกษาไทยหลังโควิด-19
101 คุยกับ สมชัย จิตสุชน เพื่อมองหาทางเลือกและสมดุลใหม่ในการรับมือกับวิกฤตเศรษฐกิจและสุขภาพ – สมดุลที่เห็นหัวประชาชน คนเล็กคนน้อย และคนด้อยโอกาส
โควิด-19 เข้ามาทำให้เศรษฐกิจทรุด คนตกงาน มีคนฆ่าตัวตายรายวัน คำถามคือความเครียดจากผลพวงเหล่านี้จะส่งผลอะไรในอนาคต
มองชีวิตแรงงานชาวทวาย ที่อยู่รวมกันเป็นชุมชนหลังวัดไผ่ตัน พวกเขาอยู่อย่างไรในช่วงล็อคดาวน์ เมื่อไม่มีงาน ไม่มีเงิน และไม่ได้อยู่บ้าน พวกเขาแก้ปัญหาชีวิตอย่างไร
วิมุต วานิชเจริญธรรม สำรวจข้อมูลแรงงานไทยในสถานการณ์โรคระบาด ซึ่งสะท้อนให้เห็นถึงวิบากกรรมของแรงงานไทย และวิกฤตเศรษฐกิจครั้งใหม่ที่น่ากังวล