การเมืองซ้ายๆ กับผลเลือกตั้งของเนปาลครั้งล่าสุด
ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก เขียนถึง การเลือกตั้งครั้งสำคัญในเนปาลหลังวิกฤตการสลับขั้วการเมือง ซึ่งนำไปสู่การสลายการผูกขาดทางการเมืองของฝ่ายซ้าย

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก เขียนถึง การเลือกตั้งครั้งสำคัญในเนปาลหลังวิกฤตการสลับขั้วการเมือง ซึ่งนำไปสู่การสลายการผูกขาดทางการเมืองของฝ่ายซ้าย
1 ปีล่วงผ่านหลังการกลับขึ้นมามีอำนาจของฏอลิบาน เศรษฐกิจ สิทธิเสรีภาพ และความมั่นคงในอัฟกานิสถานเปลี่ยนแปลงไปอย่างไร? 101 สนทนากับ ศ.ดร.จรัญ มะลูลีม คณบดีวิทยาลัยนานาชาติอิสลามกรุงเทพ มหาวิทยาลัยเกริก ผู้เชี่ยวชาญและนักวิชาการตะวันออกกลางศึกษา ว่าด้วยสถานการณ์อัฟกานิสถานในปัจจุบันและความเปลี่ยนแปลงทางการเมืองในภูมิภาคตะวันออกกลางและเอเชียใต้
101 One on One ชวนศุภวิชญ์ แก้วคูนอก คอลัมนิสต์ประจำ The101.world และผู้ที่สนใจศึกษา ‘เอเชียใต้’ ในมิติสังคม เศรษฐกิจ และวัฒนธรรม อ่านวิกฤตศรีลังกาเพื่อถอดบทเรียนสำหรับประเทศกำลังพัฒนาอื่นๆ ในอนาคต
ในวาระครบรอบ 50 ปีประกาศเอกราชของบังคลาเทศ ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก พาย้อนเส้นทางพัฒนาการของบังคลาเทศ จากประเทศที่เต็มไปด้วยความรุนแรงทางการเมืองและความยากจน สู่ประเทศที่เติบโตทางเศรษฐกิจรวดเร็วที่สุดแห่งหนึ่งของโลก กลายเป็นหนึ่งในผู้เล่นสำคัญในห่วงโซ่เศรษฐกิจโลก กลายเป็นจุดสำคัญของภูมิรัฐศาสตร์อินโด-แปซิฟิก และกำลังค่อยๆ ออกห่างจากร่มเงาของอินเดีย
ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก เขียนถึง ความเปลี่ยนแปลงทางภูมิรัฐศาสตร์ในภูมิภาคเอเชียใต้และความท้าทายที่อินเดียต้องเผชิญในวันที่ตาลีบันครองอำนาจ
101 สนทนากับ ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก คอลัมนิสต์ประจำ The 101.world และผู้ที่สนใจศึกษาอินเดียในมิติทางการเมือง เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม ไล่เรียงตั้งแต่อินเดียบนเวทีโลก อินเดียกับเอเชียใต้ จีน และอาเซียน รวมถึงความร่วมมือระดับภูมิภาคเพื่อรับมือกับโควิด-19
ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก เขียนถึงความสัมพันธ์ เนปาล-จีน-อินเดีย เมื่อจีนขยายอิทธิพลเข้ามาในเนปาล ขณะที่บทบาทของอินเดียค่อยๆ ลดลง
ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก เขียนถึงสถานการณ์โควิด-19 ในประเทศเอเชียใต้ ที่ทำให้เกิดการประชุมระดับภูมิภาคเพื่อรับมือการแพร่ระบาดร่วมกัน
ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก พาไปไขข้อสงสัยถึงความสัมพันธ์ อินเดีย-จีน ที่ดูจะมีภาพกระทบกระทั่งกันเรื่อยมาโดยเฉพาะเรื่องพรมแดน แต่ที่จริงแล้วสองประเทศนี้มีความสัมพันธ์แบบ ‘เพื่อนรัก-เพื่อนร้าย’ มากกว่า
เนื้อหาบางส่วนจากการพูดคุยกันในรายการ 101 One-on-One Ep.87 ‘อ่านอินเดียในกระแสโลก’ กับ ผศ.สุรัตน์ โหราชัยกุล ภาควิชาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
จากการการประกาศยกเลิกสถานะพิเศษให้กับรัฐจัมมูและแคชเมียร์ ที่เคยได้รับนับตั้งแต่ปี 1950 เราควรเข้าใจอินเดียอย่างไร และอะไรคือนัยอันแหลมคมของอินเดียต่อภูมิภาคและโลก คุยกันเรื่องอินเดียแบบลึกๆ กับ ผศ.สุรัตน์ โหราชัยกุล ภาควิชาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก มองการขยับตัวครั้งสำคัญของอินเดีย เมื่อนายกฯโมดีเลือกเชิญประเทศสมาชิก BIMSTEC ซึ่งรวมถึงไทยและพม่า มาเป็นสักขีพยานการสาบานตนรับตำแหน่ง แทนที่จะเชิญประเทศสมาชิก SAARC เหมือนที่ผ่านมา
ระบบ Recommend จะคัดสรรบทความและสื่อสร้างสรรค์ต่างๆ ที่คุณสนใจ มาให้คุณเลือกในหน้าโปรไฟล์ส่วนตัวของคุณ ให้คุณไม่พลาดทุกเนื้อหาที่คัดมาสำหรับคุณโดยเฉพาะ
คุณสามารถบันทึกบทความแบบ Read Later โดยคลิกที่ปุ่ม Bookmark Icon หรือจะเก็บบทความที่ชื่นชอบเป็นการส่วนตัวไว้ในหมวด Favorite โดยคลิกที่ปุ่ม Favorite Icon เพื่อกลับมาอ่านในภายหลัง
เพียงคุณลงชื่อเข้าใช้ ระบบจะจดจำตัวเลือกฟอนต์และธีมสีที่คุณเคยเลือก ให้คุณอ่านและรับชมทุกเนื้อหาอย่างเต็มที่ สบายตาและเพลิดเพลินใจในแบบที่เหมาะกับคุณ ไม่ว่าจะใช้งานบนคอมพิวเตอร์ แท็บเล็ต หรือสมาร์ตโฟน
เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า