2 ปี 4 เดือน 3 วัน ชีวิตนักโทษการเมืองกับความผิดที่ไม่ได้ก่อของ วาสนา บุษดี
ชีวิตของวาสนา บุษดี คนหาเช้ากินค่ำที่กลายมาเป็นนักโทษการเมือง เข้าคุกจากคดีระเบิด ทั้งที่ไม่เคยยุ่งเกี่ยวเรื่องการเมือง และสุดท้ายศาลยกฟ้อง

ชีวิตของวาสนา บุษดี คนหาเช้ากินค่ำที่กลายมาเป็นนักโทษการเมือง เข้าคุกจากคดีระเบิด ทั้งที่ไม่เคยยุ่งเกี่ยวเรื่องการเมือง และสุดท้ายศาลยกฟ้อง
19 พฤษภาคม 2565 ครบรอบ 12 ปี การสลายการชุมนุมแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ (นปช.) มีการรวมตัวจัดกิจกรรมรำลึกแด่วีรชนเสื้อแดงที่เสียชีวิตจากการสลายการชุมนุมที่บริเวณแยกราชประสงค์
101 ชวน ณัฐวุฒิ ใสยเกื้อ อดีตแกนนำ นปช. ผู้ถูกจดจำจากลีลาปราศรัยมาอ่านการเมืองไทย ทั้งขบวนการเรียกร้องประชาธิปไตยในปัจจุบัน หนึ่งความฝันของราษฎร กระบวนการยุติธรรมที่จองจำนักต่อสู้ทางการเมือง และบทเรียนที่เขาจะส่งต่อถึงมือคนรุ่นใหม่
101 พูดคุยกับผู้ชุมนุมวันที่ 19 กันยายน 2563 ว่าอะไรคือภาพฝันของสถาบันกษัตริย์ที่พวกเขาอยากเห็นและเราจะอยู่ร่วมกันอย่างไรในโลกยุคใหม่ที่มีความเปลี่ยนแปลง
บุญเลิศ วิเศษปรีชา เขียนถึง ‘ตาสว่าง’ กราฟิกโนเวลของ คลาวดิโอ โซปรันเซ็ตติ, เคียรา นาตาลุชชี และซารา ฟับบรี 1 ใน 6 เล่มที่ได้รับคะแนนโหวตสูงสุดใน ‘ความน่าจะอ่าน 2020’
อนุสาวรีย์ประชาธิปไตย เป็นพื้นที่เรียกร้องความเป็นธรรมของประชาชนจากทั่วทุกหย่อมหญ้า และเป็นวงเวียนที่นักท่องเที่ยวจากทั่วโลกเคยสัญจรผ่าน ความเป็นประชาธิปไตยของอนุสาวรีย์ประชาธิปไตยดำเนินมาอย่างไรในห้วงยามที่ประชาธิปไตยไหวเอน
101 Documentary ชวนชม The Mo(nu)ment of Democracy : อนุสาวรีย์ประชาธิปไตย ประชาธิปไตยในอนุสาวรีย์
101 in Focus สัปดาห์นี้ ชวนมารำลึกความทรงจำจากเหตุสลายชุมนุม เม.ย. – พ.ค. ปี 53 ทำความใจ “เสื้อแดง” จากผลงานใน Spotlight: Defrost the Memories
วจนา วรรลยางกูร พูดคุยกับ ณัฐวุฒิ ใสยเกื้อ แกนนำนปช. หลังการปราบปรามการชุมนุมเสื้อแดงผ่านมา 10 ปี แต่ผู้เสียชีวิตยังเข้าไม่ถึงความยุติธรรม
จรัล ดิษฐาอภิชัย อดีตแกนนำนปช. และอดีตกสม. เขียนบันทึก ‘ลักษณะประวัติศาสตร์’ การล้อมปราบคนเสื้อแดงเมื่อปี 2553
วจนา วรรลยางกูร พูดคุยกับ จรัล ดิษฐาอภิชัย อดีต กสม. และอดีตแกนนำ นปช. ถึงชีวิต 5 ปีในฐานะผู้ลี้ภัยทางการเมืองบนแผ่นดินฝรั่งเศส และความใฝ่ฝันถึง ‘สังคมอุดมคติ’
สมชาย ปรีชาศิลปกุล ตั้งข้อสงสัยถึงบทบาทหน้าที่ของอัยการว่าเป็น ‘ทนายของรัฐบาล’ หรือ ผู้อำนวยความยุติธรรมให้แก่ประชาชน’ เมื่อเกิดปรากฏการณ์หลุดรอดคดีอาญาของบางคนอย่างง่ายดาย
จันจิรา สมบัติพูนศิริ ตั้งข้อสังเกตถึงการสร้าง ‘ความปรองดองแบบคสช.’ ที่ไม่ได้ช่วยสลายความขัดแย้ง แต่ได้เปลี่ยนรูปร่างหน้าตาขั้วความขัดแย้ง ‘เสื้อเหลือง-เสื้อแดง’ ให้แบ่งฝ่ายความขัดแย้งใหม่เป็น ‘คนรุ่นเก่า-คนรุ่นใหม่’ อันมีใจความอยู่ที่โลกทัศน์มากกว่าเรื่องอายุ
สนทนากับ บุญเลิศ วิเศษปรีชา ถึงงานล่าสุดของเขา ‘อยู่กับบาดแผล’ บทสำรวจความทุกข์ทนของเหยื่อจากความรุนแรงทางการเมือง ที่นอกจากต้องเผชิญความเจ็บปวดทางร่างกายแล้วยังต้องแบกรับความเจ็บปวดทางใจในฐานะผู้แพ้ที่ถูกสังคมประณาม
ระบบ Recommend จะคัดสรรบทความและสื่อสร้างสรรค์ต่างๆ ที่คุณสนใจ มาให้คุณเลือกในหน้าโปรไฟล์ส่วนตัวของคุณ ให้คุณไม่พลาดทุกเนื้อหาที่คัดมาสำหรับคุณโดยเฉพาะ
คุณสามารถบันทึกบทความแบบ Read Later โดยคลิกที่ปุ่ม Bookmark Icon หรือจะเก็บบทความที่ชื่นชอบเป็นการส่วนตัวไว้ในหมวด Favorite โดยคลิกที่ปุ่ม Favorite Icon เพื่อกลับมาอ่านในภายหลัง
เพียงคุณลงชื่อเข้าใช้ ระบบจะจดจำตัวเลือกฟอนต์และธีมสีที่คุณเคยเลือก ให้คุณอ่านและรับชมทุกเนื้อหาอย่างเต็มที่ สบายตาและเพลิดเพลินใจในแบบที่เหมาะกับคุณ ไม่ว่าจะใช้งานบนคอมพิวเตอร์ แท็บเล็ต หรือสมาร์ตโฟน
เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า