fbpx

Economic Focus

15 Apr 2020

ความเหลื่อมล้ำหลายเสี่ยง เมื่อโควิดปิดเมือง: ผลกระทบต่อตลาดแรงงานไทย

4 นักเศรษฐศาสตร์จาก 4 สถาบันวิชาการชั้นนำเปิดผลวิจัยสดใหม่ว่า ด้วยความเสี่ยงและผลกระทบของนโยบายปิดเมืองต่อตลาดแรงงานไทย

กองบรรณาธิการ

15 Apr 2020

Economic Focus

13 Apr 2020

อย่าอัดเงินเพื่ออดีต ต้องอัดฉีดอนาคต : สามจุดอันตรายและสามทางออกเศรษฐกิจไทยหลังโควิด

วีระยุทธ กาญจน์ชูฉัตร วิเคราะห์เศรษฐกิจไทยในวิกฤตโควิด-19 เรื่องข้อควรระวังในการใช้มาตรการการคลังระยะสั้น มองกระแสเศรษฐกิจโลกในระยะกลาง และภาพเศรษฐกิจแห่งอนาคตในระยะยาว

วีระยุทธ กาญจน์ชูฉัตร

13 Apr 2020

Political Economy

27 Mar 2020

เมื่อฝุ่น PM 2.5 เผชิญกับความเหลื่อมล้ำในสังคมไทย

ธร ปีติดล และ ภวินทร์ เตวียนันท์ วิเคราะห์ ปัญหาฝุ่น PM 2.5 กับความเหลื่อมล้ำในสังคมไทย เพื่อชี้ให้เห็นว่า ในสถานการณ์วิกฤตด้านสุขภาพคนรายได้น้อยมักจะมีส่วนในต้นตอน้อยกว่า เสี่ยงมากกว่า และรับภาระมากกว่า

ธร ปีติดล

27 Mar 2020

Media

21 Feb 2020

101 In Focus Ep.27 : จากเศรษฐศาสตร์ตายแล้วสู่วารสารศาสตร์ต้องรอด

เศรษฐศาสตร์และวารสารศาสตร์คือ สองศาสตร์ที่กำลังผลัดใบและมองหาที่ทางใหม่ให้กับตัวเอง

สำรวจการปรับตัวขององค์ความรู้เศรษฐศาสตร์และวารสารศาสตร์กับ ในรายการ 101 In Focus Ep.27

ดำเนินรายการโดย วิโรจน์ สุขพิศาล สมคิด พุทธศรี และศุภาวรรณ คงสุวรรณ์

กองบรรณาธิการ

21 Feb 2020

Sustainability

29 Jan 2020

เศรษฐศาสตร์การเมืองเรื่องฝุ่น PM 2.5 กับ วิษณุ อรรถวานิช

ทรรศนะบางส่วนของ วิษณุ อรรถวานิช ถึงปัญหา PM 2.5 เมื่อใช้หลักเศรษฐศาสตร์ประเมินต้นทุนมลพิษทางอากาศของสังคมไทย

กองบรรณาธิการ

29 Jan 2020

Talk Programmes

22 Jan 2020

101 One-on-One Ep.102 “เศรษฐศาสตร์การเมืองเรื่องฝุ่น PM 2.5”

101 ชวน วิษณุ อรรถวานิช คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ สาเหตุที่แท้จริงของฝุ่นคืออะไร ต้นทุนของสังคมไทยที่เกิดจากฝุ่นมีมากแค่ไหน ทำไมรัฐไทยแก้ปัญหาฝุ่นไม่ได้ และทางออกของเรื่องนี้คืออะไร ร่วมหาคำตอบบนฐานความรู้และงานวิจัย

101 One-on-One

22 Jan 2020

Trends

16 Jan 2020

มอง ‘ดิจิทัลศึกษา’ ข้ามศาสตร์ : นิติศาสตร์ – เศรษฐศาสตร์ – มานุษยวิทยา

สรุปเสวนาวิชาการ ‘ดิจิทัลศึกษากับอนาคตสังคมไทย’ เทคโนโลยีดิจิทัลส่งผลกระทบต่อประเด็นการศึกษาของ นิติศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ และมานุษยวิทยา อย่างไร

ปาณิส โพธิ์ศรีวังชัย

16 Jan 2020

Economic Focus

29 Oct 2019

นโยบายแก้จน: บทเรียนจากนักเศรษฐศาสตร์โนเบล 2019 ถึงสังคมเศรษฐกิจไทย

นโยบายแก้จนของไทยเป็นอย่างไร เดินมาถูกทางหรือไม่ และเราเรียนรู้อะไรจากโลกได้บ้าง คุยกับ ดร.สมชัย จิตสุชน ผู้อำนวยการวิจัยด้านการพัฒนาอย่างทั่วถึง สถาบันเพื่อการวิจัยและพัฒนาประเทศไทย (ทีดีอาร์ไอ)

กองบรรณาธิการ

29 Oct 2019

Economic Focus

10 Jun 2019

เศรษฐศาสตร์ตายแล้ว ? เศรษฐศาสตร์ในโลกของเศรษฐกิจใหม่ : สันติธาร เสถียรไทย

คุยกับ ดร. สันติธาร เสถียรไทย Group Chief Economist ที่ Sea Limited นักเศรษฐศาสตร์รุ่นใหม่ภาคเทคโนโลยี ว่าด้วยคำถาม เศรษฐศาสตร์ตายแล้วหรือยัง ? และจะประยุกต์ใช้อย่างไรในโลกยุคดิจิทัล

สมคิด พุทธศรี

10 Jun 2019

Economy

30 Mar 2019

72 ปี รังสรรค์ ธนะพรพันธุ์ นักเศรษฐศาสตร์ทวนกระแส

เมื่อ ชูศักดิ์ ภัทรกุลวณิชย์ ‘อ่าน’ รังสรรค์ ธนะพรพันธุ์ นักเศรษฐศาสตร์ทวนกระแสคนสำคัญของธรรมศาสตร์ ในวาระ 72 ปี รังสรรค์

ชูศักดิ์ ภัทรกุลวณิชย์

30 Mar 2019

Political Economy

26 Feb 2018

Economics for the Common Good คิดแบบ ‘เศรษฐศาสตร์เพื่อส่วนรวม’

สฤณี อาชวานันทกุล ชวนอ่าน Economics for the Common Good โดย Jean Tirole หนังสือที่นำเสนอข้อถกเถียงและทางออกในประเด็นเศรษฐกิจร่วมสมัย ตั้งแต่เรื่องโลกร้อนจนถึงเศรษฐกิจดิจิทัล

สฤณี อาชวานันทกุล

26 Feb 2018

Economic Focus

13 Feb 2018

สินสอดมีไว้ทำไม? มองสินสอดด้วยเศรษฐศาสตร์

พลอย ธรรมาภิรานนท์ สำรวจความหมายและหน้าที่ของค่าตอบแทนการสมรสอย่าง “สินสอด” ในมิติทางเศรษฐกิจและสังคม ผ่านแว่นตาของ “เศรษฐศาสตร์”

พลอย ธรรมาภิรานนท์

13 Feb 2018

Political Economy

23 Oct 2017

Economics Rules : เมื่อเศรษฐศาสตร์รุ่มรวยกว่าภาพจำของสังคม

สฤณี อาชวานันทกุล ชวนอ่าน Economics Rules ของ Dani Rodrik นักเศรษฐศาสตร์การเมืองจากฮาร์วาร์ด หนังสือเล่มสำคัญที่เหมาะสำหรับปรับทัศนคตินักเศรษฐศาสตร์

สฤณี อาชวานันทกุล

23 Oct 2017

Trends

20 Oct 2017

แนวคิด nudge ดัดพฤติกรรมมนุษย์

วรากรณ์ สามโกเศศ เล่าเรื่องการประยุกต์ใช้แนวคิด nudge ของ Richard Thaler ผู้เขียนหนังสือ “เศรษฐศาสตร์พฤติกรรม” (Misbehaving) เจ้าของรางวัลโนเบลเศรษฐศาสตร์คนล่าสุด ว่ามีส่วนช่วยทำให้ชีวิตส่วนตัวและสังคมดีขึ้นได้อย่างไร

วรากรณ์ สามโกเศศ

20 Oct 2017

Political Economy

28 Aug 2017

The Origin of Wealth

สฤณี อาชวานันทกุล ชวนอ่าน The Origin of Wealth ของ Eric Beinhocker หนังสือที่นำเสนอ “เศรษฐศาสตร์เชิงซับซ้อน” ที่สังเคราะห์จากองค์ความรู้หลายศาสตร์ มาแทนที่ “เศรษฐศาสตร์ดั้งเดิม” ที่ล้มเหลวในการอธิบายโลกแห่งความจริง

สฤณี อาชวานันทกุล

28 Aug 2017
1 2 3

RECOMMENDED

Social Issues

17 Feb 2017

อ่านข่าวออนไลน์จากสำนักไหน ใครจำได้บ้าง

แน่นอน คนเราอ่านข่าวออนไลน์กันมากขึ้น แต่เราจำได้หรือเปล่าว่าข่าวไหนมาจากสำนักไหน ใครวิเคราะห์อะไรบ้าง ได้ตามข่าวไหนต่อเป็นพิเศษหรือเปล่า วิธีอ่านข่าวออนไลน์ของเราเป็นอย่างไร

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Social Issues

17 Feb 2017

น้ำแข็งขั้วโลกหดตัวต่ำสุดในประวัติศาสตร์ ไม่ใช่แค่ขั้วเดียว-แต่ทั้งสองขั้วเลย!

ขั้วโลกเหนือเป็นฤดูหนาว ขั้วโลกใต้เป็นฤดูร้อน แต่ที่เหมือนกันก็คือ ไม่ว่าจะหนาวจะร้อน ทั้งสองขั้วโลกต่างมีอาการ ‘น้ำแข็งหดตัว’ จนเกิดสถิติใหม่อย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อนด้วยกันทั้งคู่!

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Life & Culture

20 Feb 2017

พื้นที่สาธารณะ พื้นที่ของใครกันแน่?

ดัชนีชี้วัดความสุขประชากรในเมืองขึ้นอยู่กับอะไรบ้าง ห้างสวยแอร์เย็น รถไฟฟ้าไร้โฆษณา หรือจริงๆ มนุษย์เมืองล้วนต้องการพื้นที่สาธารณะที่เป็น ‘สาธารณะ’ จริงๆ

เทพพิทักษ์ มณีพงษ์

20 Feb 2017

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save