วิทยาศาสตร์ที่พึ่งสร้าง อัลเฟรด มาร์แชล และการเอาตัวรอดของเศรษฐศาสตร์
นรชิต จิรสัทธรรม เล่าถึงการปรับตัวของเศรษฐศาสตร์ซึ่งถูกท้าทายอย่างหนักในช่วงปลายศตวรรษที่ 19 จนเป็นเศรษฐศาสตร์อย่างที่เห็นในปัจจุบัน ด้วยคุณูปการของอัลเฟรด มาร์แชล


นรชิต จิรสัทธรรม เล่าถึงการปรับตัวของเศรษฐศาสตร์ซึ่งถูกท้าทายอย่างหนักในช่วงปลายศตวรรษที่ 19 จนเป็นเศรษฐศาสตร์อย่างที่เห็นในปัจจุบัน ด้วยคุณูปการของอัลเฟรด มาร์แชล
101 ชวนกฤษฎ์เลิศ สัมพันธารักษ์ ตีโจทย์เศรษฐกิจไทยในยุคหลังโควิด-19 อะไรคือสิ่งที่สังคมไทยจะต้องกลับมา ‘คิดใหม่’ และ ‘ปรับใหญ่’ เรื่องเศรษฐกิจการเมือง พร้อมหาคำตอบว่าเราจะพาเศรษฐกิจไทยหลุดพ้นจากสองทศวรรษแห่งการสูญหายนี้ไปได้อย่างไร
คอลัมน์ Curious Economist เดือนนี้ รพีพัฒน์ อิงคสิทธิ์ เขียนถึงเศรษฐศาสตร์เชิงประจักษ์ (empirical economics) ที่กำลัง ‘ปฏิวัติความน่าเชื่อถือ’ ของวงการเศรษฐศาสตร์และกระบวนการกำหนดนโยบายเศรษฐกิจ
นรชิต จิรสัทธรรม เขียนถึงประวัติศาสตร์ความเป็นมาของเศรษฐศาสตร์ในฐานะ ‘ศาสตร์แห่งความหดหู่’ – จากศาสตร์แห่งการปลดปล่อยทาสสู่ศาสตร์ที่เอาแต่สนใจตัวเลขและละเลยมิติทางสังคม
รพีพัฒน์ อิงคสิทธิ์ เขียนถึงทฤษฎีการประมูลของพอล อาร์. มิลกรอม และโรเบิร์ต บี. วิลสัน สองนักเศรษฐศาสตร์รางวัลโนเบลคนล่าสุด เพื่อทำความเข้าใจว่า การประมูลมีบทบาทในการจัดสรรทรัพยากรให้กระจายสู่สาธารณะได้อย่างไร
พีรพัฒน์ ตัณฑวณิช สำรวจวิวาทะว่าด้วย ‘ระดับหนี้สาธารณะที่เหมาะสม’ ในวงวิชาการระดับโลก เพื่อตั้งคำถามถึงสถานะทางการคลังของประเทศไทยในยุควิกฤตโควิด-19
วีระยุทธ กาญจน์ชูฉัตร และ นภนต์ ภุมมา ชวนมองนโยบายการคลังในช่วงโควิด-19 ที่ผ่านมา ตามหลักเศรษฐศาสตร์ของ ‘เคนส์’
101 สนทนากับ “สฤณี อาชวานันทกุล” ว่าด้วยนโยบายเศรษฐกิจที่ให้ความสำคัญกับการจัดการความเหลื่อมล้ำ การต่อสู้การผูกขาด และการสร้างความยั่งยืน หน้าตาของนโยบายสู้ COVID-19 ของสังคมไทยควรจะออกมาแบบไหน
พิพัฒน์ เหลืองนฤมิตชัย ชวนสำรวจบทบาทใหม่ของแบงก์ชาติท่ามกลางวิกฤต COVID-19 ผ่านมาตรการช่วยเหลือตลาดการเงินด้วยกองทุน BSF
วิมุต วานิชเจริญธรรม วิเคราะห์ประโยชน์และต้นทุนของนโยบายปิดเมือง เพื่อตอบคำถามว่าผลได้จากการหยุดยั้งโรคระบาดคุ้มค่ากับความสูญเสียทางเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นหรือไม่
101 เปิดคอร์สเศรษฐศาสตร์การเงิน (และการเมือง) สนทนาเรื่องบทบาทใหม่ของธนาคารกลางกับการจัดการวิกฤตเศรษฐกิจ COVID-19 กับ ดร.พิพัฒน์ เหลืองนฤมิตชัย นักเศรษฐศาสตร์ ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการบริษัทหลักทรัพย์ภัทร จำกัด (มหาชน) และคอลัมนิสต์ด้านเศรษฐศาสตร์ประจำ The101.world
4 นักเศรษฐศาสตร์จาก 4 สถาบันวิชาการชั้นนำเปิดผลวิจัยสดใหม่ว่า ด้วยความเสี่ยงและผลกระทบของนโยบายปิดเมืองต่อตลาดแรงงานไทย
วีระยุทธ กาญจน์ชูฉัตร วิเคราะห์เศรษฐกิจไทยในวิกฤตโควิด-19 เรื่องข้อควรระวังในการใช้มาตรการการคลังระยะสั้น มองกระแสเศรษฐกิจโลกในระยะกลาง และภาพเศรษฐกิจแห่งอนาคตในระยะยาว
ธร ปีติดล และ ภวินทร์ เตวียนันท์ วิเคราะห์ ปัญหาฝุ่น PM 2.5 กับความเหลื่อมล้ำในสังคมไทย เพื่อชี้ให้เห็นว่า ในสถานการณ์วิกฤตด้านสุขภาพคนรายได้น้อยมักจะมีส่วนในต้นตอน้อยกว่า เสี่ยงมากกว่า และรับภาระมากกว่า
เศรษฐศาสตร์และวารสารศาสตร์คือ สองศาสตร์ที่กำลังผลัดใบและมองหาที่ทางใหม่ให้กับตัวเอง
สำรวจการปรับตัวขององค์ความรู้เศรษฐศาสตร์และวารสารศาสตร์กับ ในรายการ 101 In Focus Ep.27
ดำเนินรายการโดย วิโรจน์ สุขพิศาล สมคิด พุทธศรี และศุภาวรรณ คงสุวรรณ์
ระบบ Recommend จะคัดสรรบทความและสื่อสร้างสรรค์ต่างๆ ที่คุณสนใจ มาให้คุณเลือกในหน้าโปรไฟล์ส่วนตัวของคุณ ให้คุณไม่พลาดทุกเนื้อหาที่คัดมาสำหรับคุณโดยเฉพาะ
คุณสามารถบันทึกบทความแบบ Read Later โดยคลิกที่ปุ่ม Bookmark Icon หรือจะเก็บบทความที่ชื่นชอบเป็นการส่วนตัวไว้ในหมวด Favorite โดยคลิกที่ปุ่ม Favorite Icon เพื่อกลับมาอ่านในภายหลัง
เพียงคุณลงชื่อเข้าใช้ ระบบจะจดจำตัวเลือกฟอนต์และธีมสีที่คุณเคยเลือก ให้คุณอ่านและรับชมทุกเนื้อหาอย่างเต็มที่ สบายตาและเพลิดเพลินใจในแบบที่เหมาะกับคุณ ไม่ว่าจะใช้งานบนคอมพิวเตอร์ แท็บเล็ต หรือสมาร์ตโฟน
เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า