ฝรั่งเศส-เยอรมนี: จากศัตรูสู่คู่ปรับในสนามฟุตบอล
คอลัมน์ The Rivalry เดือนนี้ สมศักดิ์ จันทวิชชประภา เขียนถึงสองชาติมหาอำนาจ ‘ฝรั่งเศส-เยอรมนี’ ที่เป็นศัตรูกันตั้งแต่ก่อนยุครัฐชาติ มาจนถึงปัจจุบันในสนามฟุตบอล
คอลัมน์ The Rivalry เดือนนี้ สมศักดิ์ จันทวิชชประภา เขียนถึงสองชาติมหาอำนาจ ‘ฝรั่งเศส-เยอรมนี’ ที่เป็นศัตรูกันตั้งแต่ก่อนยุครัฐชาติ มาจนถึงปัจจุบันในสนามฟุตบอล
ภิญญพันธุ์ พจนะลาวัณย์ เขียนถึงพัฒนาการของสหภาพแรงงานการศึกษาในเยอรมนี จากการรวมชาติถึงสิ้นสุดสงครามเย็น การดำรงอยู่ของสหภาพฯ ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์ทางการเมืองที่พลิกผันตีลังกาเป็นรถไฟเหาะไปด้วย
ตลอดกว่า 1 ปีที่ผ่านมา ยุโรปมองสงครามรัสเซีย-ยูเครนอย่างไร? สงครามได้เปลี่ยนยุโรปไปอย่างไรบ้าง? สงครามจะเป็นอย่างไรต่อไป? และอะไรที่จะเปิดโอกาสให้สันติภาพเกิดขึ้นได้อย่างแท้จริง? 101 ชวนอ่าน ‘สงครามรัสเซีย-ยูเครน’ ผ่านมุมมองของทูตสหภาพยุโรป โปแลนด์ เยอรมนี และฟินแลนด์
มัธธาณะ รอดยิ้ม ชวนมองสภาพสังคมเยอรมนีตะวันออกก่อนรวมชาติ เมื่อรัฐบาลคอมมิวนิสต์ต้องเผชิญปัญหาขาดแคลนอาหาร
ในวันที่ห้องสมุดสาธารณะกำลังกลายเป็นหนึ่งในประเด็นสำคัญในการพัฒนา ‘เมืองกรุงเทพฯ’ ให้กลายเป็น ‘มหานครแห่งการเรียนรู้’ 101 ชวนมองความเปลี่ยนแปลงและแนวทางการพัฒนาห้องสมุดสาธารณะผ่านมุมมองแบบ ‘เทศมองไทย’ จากฝรั่งเศสและเยอรมนี สนทนากับห้องสมุดสถาบันเกอเธ่ ประเทศไทยและห้องสมุดมัลติมีเดียสมาคมฝรั่งเศส ว่าด้วยการออกแบบห้องสมุดสาธารณะกลายเป็นพื้นที่แห่งการเรียนรู้ในเมืองได้อย่างแท้จริง
คอลัมน์ The Rivalry เดือนนี้ สมศักดิ์ จันทวิชชประภา เขียนถึงคู่ปรับมหาอำนาจอย่าง ‘อังกฤษ-เยอรมนี’
มัธธาณะ รอดยิ้ม เขียนถึงการแบ่งแยกทางอุดมการณ์และความทรงจำของคนเวียดนามและเยอรมนี อันเป็นผลพวงมาจากประวัติศาสตร์การแยกประเทศ
101 ชวนถอดบทเรียนประเทศที่ประสบความสำเร็จในการผลักดันอาชีวศึกษา จากที่เคยถูกมองข้ามจนขึ้นมาเป็นฟันเฟืองหลักแห่งการพัฒนาประเทศ โดยดูตัวอย่างจากเยอรมนี เกาหลีใต้ และสิงคโปร์
101 ชวน ดร.จันจิรา สมบัติพูนศิริ นักวิจัยประจำสถาบัน German Institute of Global and Area Studies (GIGA) และสถาบันเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มาวิเคราะห์การเมืองเยอรมนีและการเมืองโลกในยุคหลัง Merkelism
3 ตุลาคม เป็นวันชาติเยอรมนี มัธธาณะ รอดยิ้ม ชวนย้อนมองเส้นทางการรวมชาติเยอรมนี นับแต่การก่อตั้งสมาพันธรัฐเยอรมันที่รวบรวมรัฐที่ใช้ภาษาเยอรมัน ซึ่งนำไปสู่คำถามว่า ‘ความเป็นเยอรมัน’ คืออะไร
ในวาระอำลาตำแหน่งนายกรัฐมนตรีเยอรมนี 101 ชวนสำรวจมรดกทางการเมืองอันซับซ้อนตลอด 16 ปีของ อังเกลา แมร์เคิล พลังแห่งเสถียรภาพผู้ยืนหนึ่งท่ามกลางวิกฤตใหญ่ครั้งแล้วครั้งเล่า
วันชัย ตันติวิทยาพิทักษ์ เขียนถึงหลักพื้นฐาน 7 ประการของการทำโฆษณาชวนเชื่อที่พรรคนาซีใช้จนสามารถปลุกระดมมวลชนให้คล้อยตามผู้มีอำนาจได้
จันจิรา สมบัติพูนศิริ ชวนทำความรู้จักกับ ‘ก้อนหินสะดุด’ ในฐานะนวัตกรรมการช่วงชิงความทรงจำที่บรรจุประวัติศาสตร์บาดแผลร่วมของชาวเยอรมันได้อย่างเป็นประชาธิปไตยและธรรมดาสามัญอย่างถึงที่สุด
ณัชชาภัทร อมรกุล ชวนเช็คประสิทธิภาพของผู้นำอเมริกา อังกฤษ ฝรั่งเศส สิงคโปร์ เกาหลีใต้ และเยอรมนีในการรับมือกับวิกฤต COVID-19
คอลัมน์หนังนอกรอบ วจนา วรรลยางกูร เขียนถึง The Silent Revolution ภาพยนตร์ที่พูดถึงการต่อต้านด้วยความเงียบสองนาทีของนักเรียนในเยอรมนีตะวันออกช่วงสงครามเย็น
ระบบ Recommend จะคัดสรรบทความและสื่อสร้างสรรค์ต่างๆ ที่คุณสนใจ มาให้คุณเลือกในหน้าโปรไฟล์ส่วนตัวของคุณ ให้คุณไม่พลาดทุกเนื้อหาที่คัดมาสำหรับคุณโดยเฉพาะ
คุณสามารถบันทึกบทความแบบ Read Later โดยคลิกที่ปุ่ม Bookmark Icon หรือจะเก็บบทความที่ชื่นชอบเป็นการส่วนตัวไว้ในหมวด Favorite โดยคลิกที่ปุ่ม Favorite Icon เพื่อกลับมาอ่านในภายหลัง
เพียงคุณลงชื่อเข้าใช้ ระบบจะจดจำตัวเลือกฟอนต์และธีมสีที่คุณเคยเลือก ให้คุณอ่านและรับชมทุกเนื้อหาอย่างเต็มที่ สบายตาและเพลิดเพลินใจในแบบที่เหมาะกับคุณ ไม่ว่าจะใช้งานบนคอมพิวเตอร์ แท็บเล็ต หรือสมาร์ตโฟน
เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า