fbpx

Science & Innovation

26 Apr 2019

คน vs หุ่นยนต์ : ความหวังและข้อกังวลบนโลกอนาคต

จิตร์ทัศน์ ฝักเจริญผล เล่าถึงหุ่นยนต์ ปัญญาประดิษฐ์ และการเปลี่ยนแปลงในอนาคต-ความเป็นไปได้ที่เครื่องจักรจะทดแทนมนุษย์

จิตร์ทัศน์ ฝักเจริญผล

26 Apr 2019

Science & Innovation

8 Apr 2019

FUTURE BABY ทารกแห่งอนาคต : ในนามแห่ง ‘บุตร’ ในสายตาของคนรุ่นใหม่

เก็บความจากงานฉายภาพยนตร์สารคดีเรื่อง ‘FUTURE BABY’ ผลงานของ Maria Arlamovsky ผู้กำกับชาวออสเตรีย ที่ชวนเด็กอายุ 15-24 ปี มาระดมความคิดว่าด้วยการมีลูกในอนาคตที่มีเทคโนโลยีเป็นตัวขับเคลื่อน

ปาณิส โพธิ์ศรีวังชัย

8 Apr 2019

Social Issues

24 Dec 2018

‘เมือง เทคโนโลยี ความยั่งยืน’ วัตถุดิบชั้นดีของ ‘Trend’ ปี 2018

ศุภาวรรณ คงสุวรรณ์ พาสำรวจเมือง เทคโนโลยี และความยั่งยืน เพื่อให้เห็นภาพของ ‘Trend’ ในปี 2018 ที่วนเวียนอยู่รอบการดำรงชีวิตในปัจจุบัน พร้อมเทียบกับภาพที่อาจเกิดขึ้นในอนาคต

ศุภาวรรณ คงสุวรรณ์

24 Dec 2018

Life & Culture

9 Nov 2018

วัดจุดแข็งจุดอ่อนจีน-สหรัฐฯ ด้าน A.I.

ศึก A.I. ระหว่างสหรัฐอเมริกาและจีนครั้งนี้ใหญ่หลวงนัก หากใครกุมความได้เปรียบนี้ได้ ก็จะขึ้นเป็นผู้นำเทคโนโลยีแห่งโลกอนาคต อาร์ม ตั้งนิรันดร พาไปดูจุดแข็ง-จุดอ่อน ของทั้งสองยักษ์ใหญ่นี้ ว่ามีโอกาสเพลี่ยงพล้ำหรือเอาชนะกันได้ด้วยวิธีการใด

อาร์ม ตั้งนิรันดร

9 Nov 2018

Interviews

8 Nov 2018

เปิดโลก ‘รังสีรักษา’ กับ พญ.ปฐมพร ศิรประภาศิริ

คุยกับผู้เชี่ยวชาญด้าน ‘รังสีรักษา’ แพทย์หญิงปฐมพร ศิรประภาศิริ ถึงความท้าทายและอนาคตในการรักษาโรคมะเร็งด้วยรังสี

ธิติ มีแต้ม

8 Nov 2018

Spotlights

5 Nov 2018

Blockchain เพื่อความโปร่งใส: เราทำอะไรได้บ้าง

‘Blockchain’ ในฐานะเทคโนโลยีที่จะเข้ามาเปลี่ยนโฉมอนาคต ด้วยคุณลักษณะเด่นที่ผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง สามารถย้อนกลับไปตรวจสอบความโปร่งใสได้ เทคโนโลยีนี้จึงเริ่มถูกนำมาใช้ประโยชน์กับเรื่องอื่นๆ นอกเหนือจากโลกการเงินด้วย

กองบรรณาธิการ

5 Nov 2018

Spotlights

26 Oct 2018

การใช้ ‘Blockchain’ เพื่อความโปร่งใส : ตัวอย่างในต่างประเทศ และความเป็นไปได้ในไทย

พันธวัฒน์ เศรษฐวิไล เก็บความจากวงเสวนาโต๊ะกลม หัวข้อ ‘เทคโนโลยี Blockchain เพื่อความโปร่งใสและความรับผิดชอบ’ ซึ่งภาคส่วนต่างๆ มาระดมสมองกันหาคำตอบดังกล่าว ว่าด้วยการใช้ Blockchain ในกระบวนการยุติธรรม

พันธวัฒน์ เศรษฐวิไล

26 Oct 2018

สารกันเบื่อ

17 Aug 2018

ล้มบ้างก็ได้ – Apple กับของที่พวกเขาอยากลืม แต่เราจำ

เอกศาสตร์ สรรพช่าง พาไปรู้จักผลิตภัณฑ์ของแอปเปิ้ลที่ ‘แป้ก’ จนกลายเป็นตำนาน บริษัทที่เป็นผู้นำโลกด้านเทคโนโลยีก็พลาดได้

เอกศาสตร์ สรรพช่าง

17 Aug 2018

Third Eye View

2 Aug 2018

ความคิดซ่อนไม่ได้ เมื่อเทคโนโลยีอ่านใจเราอยู่

จะเป็นอย่างไรถ้าความรู้สึกถูกอ่านได้ด้วยเทคโนโลยี ?
แอบชอบใครไม่ต้องเดาใจ เอามือถือไปสแกนหน้าเป็นอันหมดเรื่อง
เห็นภาพเพื่อนหน้าแย่ ตัดผมทรงใหม่ไม่ได้เรื่องในเฟซบุ๊ก ระบบขึ้น ‘โกรธ’ ให้อัตโนมัติ
ร่วมสำรวจเทคโนโลยีที่ทำให้การอ่านความรู้สึกได้อยู่ใกล้แค่เอื้อม! ไปกับคอลัมน์ #ThirdEyeView โดย Eyedropper Fill

อายดรอปเปอร์ ฟิลล์

2 Aug 2018

Life & Culture

29 Jul 2018

โลกซับซ้อนของวัยรุ่นยุควุ่นเน็ต : เมื่อการก้มหน้าคือการเข้าสังคม

ปาณิส โพธิ์ศรีวังชัย เก็บความจากงานเสวนาเปิดตัวหนังสือ ‘It’s Complicated : the social lives of networked teens’ ชวนวิทยากรต่างวัยมาร่วมแลกเปลี่ยนมุมมองเกี่ยวกับพฤติกรรมวัยรุ่นในยุคสังคมก้มหน้า ซึ่งแท้จริงแล้วอาจเป็นปัญหาของคนทุกวัย

ปาณิส โพธิ์ศรีวังชัย

29 Jul 2018

วิธีอ่าน

13 Jul 2018

อ่านงานของ Robert Gilpin: ฐานอำนาจรัฐกับการเปลี่ยนแปลงอำนาจในการเมืองโลก

ศุภมิตร ปิติพัฒน์ อ่านการเมืองระหว่างประเทศตามแนวทาง political realism ของโรเบิร์ต กิลปิน เพื่อตอบคำถามว่าอะไรเป็นปัจจัยที่สำคัญที่สุดในการกำหนดอำนาจรัฐบนเวทีโลก

ศุภมิตร ปิติพัฒน์

13 Jul 2018

TREND RIDER

28 Jun 2018

เราจะไว้ใจ AI ได้แค่ไหน

โตมร ศุขปรีชา พาไปรู้จัก AI ให้ลึกขึ้นอีกนิด กับคำถามสำคัญที่ว่า ‘เราจะไว้ใจ AI ได้แค่ไหน?’ มนุษย์จะพัฒนา AI ไปในทิศทางไหน วิธีการทำงานของ AI จะเป็นอย่างไร ติดตามได้ในบทความชิ้นนี้

โตมร ศุขปรีชา

28 Jun 2018

China

12 May 2018

แผนการใหญ่ A.I. 2030: จีนต้องการอะไร?

จีนประกาศแผนการใหญ่เพื่อก้าวขึ้นเป็นผู้นำโลกด้าน A.I. ให้ได้ภายใน ค.ศ. 2030 เรื่องนี้จีนเอาเป็นเอาตายหรือแค่ฝันสวยๆ ไว้ก่อน? และจีนต้องการอะไรกันแน่จาก A.I.?
อาร์ม ตั้งนิรันดร ชวนคิดว่า A.I. อาจจะเป็นกุญแจควบคุมสังคมของรัฐบาลจีน ในด้านหนึ่ง ก็มีโอกาสจะช่วยให้คนทั่วไปอยู่ดีกินดีและมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น แต่ในอีกด้านหนึ่ง ก็สามารถโน้มน้าวพฤติกรรมและแนวคิดตามที่รัฐบาลต้องการ พร้อมทั้งจัดการกับศัตรูและความเห็นต่าง น่าสนใจว่าจีนจะหยิบเอาข้อมูลมหาศาลไปใช้งานอย่างไร และส่งผลกระเพื่อมต่อโลกอย่างไร

อาร์ม ตั้งนิรันดร

12 May 2018
1 2 3 4

RECOMMENDED

Social Issues

17 Feb 2017

อ่านข่าวออนไลน์จากสำนักไหน ใครจำได้บ้าง

แน่นอน คนเราอ่านข่าวออนไลน์กันมากขึ้น แต่เราจำได้หรือเปล่าว่าข่าวไหนมาจากสำนักไหน ใครวิเคราะห์อะไรบ้าง ได้ตามข่าวไหนต่อเป็นพิเศษหรือเปล่า วิธีอ่านข่าวออนไลน์ของเราเป็นอย่างไร

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Social Issues

17 Feb 2017

น้ำแข็งขั้วโลกหดตัวต่ำสุดในประวัติศาสตร์ ไม่ใช่แค่ขั้วเดียว-แต่ทั้งสองขั้วเลย!

ขั้วโลกเหนือเป็นฤดูหนาว ขั้วโลกใต้เป็นฤดูร้อน แต่ที่เหมือนกันก็คือ ไม่ว่าจะหนาวจะร้อน ทั้งสองขั้วโลกต่างมีอาการ ‘น้ำแข็งหดตัว’ จนเกิดสถิติใหม่อย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อนด้วยกันทั้งคู่!

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Life & Culture

20 Feb 2017

พื้นที่สาธารณะ พื้นที่ของใครกันแน่?

ดัชนีชี้วัดความสุขประชากรในเมืองขึ้นอยู่กับอะไรบ้าง ห้างสวยแอร์เย็น รถไฟฟ้าไร้โฆษณา หรือจริงๆ มนุษย์เมืองล้วนต้องการพื้นที่สาธารณะที่เป็น ‘สาธารณะ’ จริงๆ

เทพพิทักษ์ มณีพงษ์

20 Feb 2017

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save