มองการเมืองญี่ปุ่นหลังการเลือกตั้งทั่วไปในบริบทโลกอันแปรปรวน
ธีวินท์ สุพุทธิกุล ชวนมองความเคลื่อนไหวในการเมืองญี่ปุ่นนับจากช่วงก่อนไปจนถึงหลังการเลือกตั้งทั่วไปเมื่อปลายเดือนตุลาคมที่ผ่านมา พร้อมมองไปข้างหน้าถึงความท้าทายบทต่อไปของญี่ปุ่น
ธีวินท์ สุพุทธิกุล ชวนมองความเคลื่อนไหวในการเมืองญี่ปุ่นนับจากช่วงก่อนไปจนถึงหลังการเลือกตั้งทั่วไปเมื่อปลายเดือนตุลาคมที่ผ่านมา พร้อมมองไปข้างหน้าถึงความท้าทายบทต่อไปของญี่ปุ่น
101 สนทนากับ เสกสรร อานันทศิริเกียรติ นักวิจัยเชิงยุทธศาสตร์ ศูนย์ศึกษาการต่างประเทศ ถึงประเด็นที่น่าจับตามองในสมรภูมิภูมิรัฐศาสตร์โลก สำรวจความท้าทายที่ไทยต้องเผชิญ พร้อมวิเคราะห์ว่าการต่างประเทศแบบใดจะพาไทยไปจับจองตำแหน่งแห่งที่ในเวทีโลกได้
ธีวินท์ สุพุทธิกุล วิเคราะห์การเยือนสหรัฐอเมริกาอย่างเป็นทางการครั้งแรกของนายกฯ ฟุมิโอะ คิชิดะ ท่ามกลางบรรยากาศโลกอันร้อนระอุด้วยความขัดแย้งหลายแนวหน้า การยกระดับยุทธศาสตร์ความมั่นคงร่วมกันของญี่ปุ่นและสหรัฐฯ สะท้อนนัยใดบ้างต่อระเบียบโลก
ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก เขียนถึง ‘ยุทธศาสตร์อินโด-แปซิฟิก’ ของบังคลาเทศ ที่พยายามสร้างสมดุลและและหาช่องผสานประโยชน์ร่วมกับทุกฝ่าย ท่ามกลางความตึงเครียดระหว่างมหาอำนาจสหรัฐฯ-จีน ที่ปกคลุมมายังเอเชียใต้
101 ชวนทบทวนถึงวิสัยทัศน์และประโยชน์เชิงยุทธศาสตร์ของสหภาพยุโรปสำหรับความร่วมมือในภูมิภาคอินโด-แปซิฟิก ตลอดจนถึงผลลัพธ์ต่อไทยและอาเซียน ในยุคสมัยที่อินโด-แปซิฟิกคืออนาคตร่วมของนานาประเทศทั่วโลก
101 ชวนย้อนมองระเบียบโลกปี 2022 เมื่อโลกกำลังเข้าสู่การเปลี่ยนผ่านดุลอำนาจไปสู่สองขั้วอำนาจระหว่างจีน-สหรัฐฯ และเต็มไปด้วยความตึงเครียดทางภูมิรัฐศาสตร์ที่ปะทุขึ้นทั้งในสงครามรัสเซีย-ยูเครน ช่องแคบไต้หวัน และอินโด-แปซิฟิก
101 สนทนากับ ประพีร์ อภิชาติสกล วิเคราะห์บทบาทการนำโลกและการกลับมาปักหมุดในเอเชียของสหรัฐฯ หลังออกจากโหมดโดดเดี่ยว ไปจนถึงความสัมพันธ์ไทย-สหรัฐฯ ในยุคที่ซับซ้อนผันผวนมากที่สุดยุคหนึ่ง
ปิติ ศรีแสงนาม วิเคราะห์การเจรจากรอบความร่วมมือทางเศรษฐกิจอินโด-แปซิฟิก ระหว่างสหรัฐฯ-อาเซียน ซึ่งคาดว่าจะเกิดขึ้นระหว่างการประชุมสุดยอดผู้นำอาเซียน-สหรัฐฯ ในเดือนพฤษภาคมนี้
จิตทิพย์ มงคลชัยอรัญญา ชวนคิดต่อว่าด้วยผลที่ยัง ‘คาดการณ์ได้ยาก’ ของยุทธศาสตร์ AUKUS ต่อพลวัตทางภูมิรัฐศาสตร์ในภูมิภาคอินโดแปซิฟิก และความท้าทายต่อการไม่แพร่ขยายอาวุธนิวเคลียร์ระดับโลกที่ตามมาจากความร่วมมือเรือดำน้ำพลังงานนิวเคลียร์ระหว่างสามประเทศพันธมิตร
กานต์ธีรา ภูริวิกรัย ชวนทบทวนโจทย์ใหญ่ของอาเซียน ทั้งเรื่องข้อพิพาททะเลจีนใต้ และสมรภูมิอินโด-แปซิฟิก
ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก ตอบคำถามคาใจว่า The QUAD เวทีความร่วมมือด้านความมั่นคงระหว่างญี่ปุ่น-อินเดีย-สหรัฐอเมริกา-ออสเตรเลียสร้างมาเพื่อปิดล้อมจีนจริงหรือไม่ รวมทั้งวิเคราะห์อนาคตของความร่วมมือนี้
101 สนทนากับ ผศ.ดร.ดุลยภาค ปรีชารัชช เกี่ยวกับ 5 ทศวรรษอาเซียน รวมไปถึงภาพใหญ่อย่างไทย อาเซียน และอินโด-แปซิฟิก ในเกมกระดานของสองมหาอำนาจสหรัฐฯ-จีน
101 สนทนากับ ผศ.ดร.ดุลยภาค ปรีชารัชช รองคณบดีฝ่ายวิชาการ วิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงค์ และอาจารย์ประจำสาขาเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ศึกษา คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เกี่ยวกับ 5 ทศวรรษอาเซียน รวมไปถึงภาพใหญ่อย่างไทย อาเซียน และอินโด-แปซิฟิก ในเกมกระดานของสองมหาอำนาจสหรัฐฯ-จีน
กานต์ธีรา ภูริวิกรัย ย้อนมองโลก 2019 เพื่อสำรวจก้าวต่อไปของ (ความไร้) ระเบียบโลกใหม่ บนสมรภูมิการแข่งขันของมหาอำนาจ
ปิติ ศรีแสงนาม เขียนถึงการวางบทบาทของอาเซียนต่อแนวคิด อินโด-แปซิฟิก ซึ่งกลายเป็นยุทธศาสตร์หลักที่ทุกประเทศมหาอำนาจกำลังจับจ้องในฐานะตลาดขนาดใหญ่แห่งเดียวที่ยังมีอัตราการขยายตัวอย่างต่อเนื่อง
ระบบ Recommend จะคัดสรรบทความและสื่อสร้างสรรค์ต่างๆ ที่คุณสนใจ มาให้คุณเลือกในหน้าโปรไฟล์ส่วนตัวของคุณ ให้คุณไม่พลาดทุกเนื้อหาที่คัดมาสำหรับคุณโดยเฉพาะ
คุณสามารถบันทึกบทความแบบ Read Later โดยคลิกที่ปุ่ม Bookmark Icon หรือจะเก็บบทความที่ชื่นชอบเป็นการส่วนตัวไว้ในหมวด Favorite โดยคลิกที่ปุ่ม Favorite Icon เพื่อกลับมาอ่านในภายหลัง
เพียงคุณลงชื่อเข้าใช้ ระบบจะจดจำตัวเลือกฟอนต์และธีมสีที่คุณเคยเลือก ให้คุณอ่านและรับชมทุกเนื้อหาอย่างเต็มที่ สบายตาและเพลิดเพลินใจในแบบที่เหมาะกับคุณ ไม่ว่าจะใช้งานบนคอมพิวเตอร์ แท็บเล็ต หรือสมาร์ตโฟน
เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า