fbpx

World

31 Jul 2023

สิทธิชนเผ่ากับปัญหาความขัดแย้งครั้งใหม่ในอินเดีย: บทเรียนน่าคิดต่อนโยบายด้านชาติพันธุ์ของไทย

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก ชวนทำความเข้าใจความขัดแย้งทางชาติพันธุ์ในอินเดีย อันเป็นผลมาจากนโยบายสิทธิชนเผ่า ที่ให้สิทธิพิเศษแก่ชนกลุ่มน้อย ไทยถอดบทเรียนอะไรได้บ้างจากนโยบายที่เป้าหมายดี แต่กลับให้ผลตรงกันข้าม

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก

31 Jul 2023

World

26 Jun 2023

เมื่อทุนจีนไหลสู่ Start-up อินเดีย: สายสัมพันธ์เศรษฐกิจจีน-อินเดียที่ซับซ้อนกลางความขัดแย้ง

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก เขียนถึง ปรากฏการณ์ทุนจีนไหลสู่สตาร์ตอัปอินเดีย ซึ่งเป็นทั้งโอกาสและความท้าทายของอินเดียในการพัฒนาเศรษฐกิจและการวางตำแหน่งแห่งที่ในโลก ในยุคที่ความขัดแย้งทางภูมิรัฐศาสตร์คุกกรุ่น

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก

26 Jun 2023

World

8 May 2023

ยุทธศาสตร์อินโด-แปซิฟิก 2023: ยุคใหม่ของนโยบายต่างประเทศบังกลาเทศ

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก เขียนถึง ‘ยุทธศาสตร์อินโด-แปซิฟิก’ ของบังคลาเทศ ที่พยายามสร้างสมดุลและและหาช่องผสานประโยชน์ร่วมกับทุกฝ่าย ท่ามกลางความตึงเครียดระหว่างมหาอำนาจสหรัฐฯ-จีน ที่ปกคลุมมายังเอเชียใต้

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก

8 May 2023

World

18 Apr 2023

ส่องนโยบายการค้าการลงทุนประเทศคู่แข่งไทย ท่ามกลางสมรภูมิสงครามการค้าสหรัฐฯ กับจีน

วรรณพงษ์ ดุรงคเวโรจน์ เขียนถึง การปรับนโยบายการค้าและการลงทุนของประเทศต่างๆ ในเอเชีย เช่น เวียดนาม อินเดีย เพื่อดึงดูดการลงทุนจากต่างชาติ หลังสงครามการค้าระหว่างจีน-สหรัฐฯ นำไปสู่ความตึงเครียดและความเสี่ยงในการลงทุนที่เพิ่มขึ้น รวมทั้งการปรับนโยบายของจีนเพื่อรับมือต่อสงครามการค้า

วรรณพงษ์ ดุรงคเวโรจน์

18 Apr 2023

World

27 Feb 2023

ในวันที่ ‘อินเดีย’ จะมีประชากรมากที่สุดในโลก

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก เขียนถึง ปรากฏการณ์การเพิ่มจำนวนประชากรของอินเดียจนอาจมีประชากรมากที่สุดในโลก ซึ่งจะเป็นปัจจัยที่เสริมให้อินเดียยกระดับการพัฒนาและก้าวกระโดดในเศรษฐกิจโลก

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก

27 Feb 2023

Social Problems

1 Feb 2023

รัฐราชการที่ไร้เมืองราชการ

คอลัมน์ไทยไม่ใช่กรุงเทพฯ เดือนนี้ เยี่ยมเยียนเมืองศูนย์ราชการในประเทศมาเลเซีย พร้อมย้อนดูการจัดตั้งศูนย์ราชการในเมืองต่างๆ เพื่อแก้ปัญหาความแออัดและกระจายอำนาจในประเทศ

ณัฐกร วิทิตานนท์

1 Feb 2023

World

26 Jan 2023

อินเดีย 2023: การเมืองร้อน เศรษฐกิจรุ่ง และการแสดงแสนยานุภาพการต่างประเทศ

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก ชวนจับตามอง ‘อินเดีย’ ในปี 2023 ปีที่จะพาอินเดียไปสู่จุดเปลี่ยนสำคัญ ทั้งทางการเมือง เศรษฐกิจ และการต่างประเทศ

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก

26 Jan 2023

World

29 Nov 2022

ดวงจันทร์ ดาวอังคาร และขีปนาวุธ: การปรับเปลี่ยนนโยบายอวกาศของอินเดีย

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก เขียนถึง การปรับเปลี่ยนนโยบายและการกระโดดเข้าสู่มสมรภูมิการแข่งขันทางอวกาศของอินเดีย ในบริบททางภูมิรัฐศาสตร์ที่เปลี่ยนแปลงไป

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก

29 Nov 2022

World

28 Sep 2022

เรื่องวุ่นๆ ทางประวัติศาสตร์ของการเริ่มความสัมพันธ์ทางการทูตระหว่างไทย-อินเดีย

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก เขียนถึง ปริศนาและเรื่องวุ่นๆ ในช่วงเริ่มต้นการสถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูตระหว่างไทย-อินเดีย ทั้งที่อินเดียยังไม่ได้รับเอกราชอย่างสมบูรณ์

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก

28 Sep 2022

World

29 Aug 2022

75 ปีแห่งอิสรภาพ: ก้าวย่างสู่การเป็นประเทศพัฒนาแล้วของอินเดีย

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก เขียนถึง เส้นทางและบทเรียนของการพัฒนาอินเดียตลอด 75 ปีที่ผ่านมาหลังการประกาศอิสรภาพ พร้อมมองความเป็นไปได้ของวิสัยทัศน์ที่อินเดียต้องการเดินหน้าไปสู่การเป็นประเทศพัฒนาแล้วในอีก 25 ปีข้างหน้าในวาระที่จะครบรอบ 100 ปีแห่งอิสรภาพ

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก

29 Aug 2022

World

28 Jun 2022

‘ชาตินิยมที่มากล้น’ กับต้นทุนทางการเมืองและเศรษฐกิจที่อินเดียต้องแบกรับ

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก เขียนถึงนโยบายชาตินิยมฮินดูของพรรครัฐบาลอินเดีย ที่ส่งผลให้เกิดความขัดแย้งร้าวลึกระหว่างชาว ‘ฮินดู’ และ ‘มุสลิม’ ซึ่งประเด็นนี้มีรากทางประวัติศาสตร์มายาวนาน

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก

28 Jun 2022

Asia

8 Jun 2022

“เราจะเป็นหลักประกันความมั่นคงและมั่งคั่งให้กับโลก” เปิดวิสัยทัศน์อินเดียในปีที่ 75 กับทูตอินเดียประจำประเทศไทย

101 สนทนากับทูตอินเดียประจำประเทศไทย Suchitra Durai ถึงวิสัยทัศน์ของอินเดีย และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-อินเดีย ในวาระครบรอบ 75 ปี

วงศ์พันธ์ อมรินทร์เทวา

8 Jun 2022

World

24 May 2022

คังคุไบ: ภาพสะท้อนปัญหาการค้ามนุษย์ของอินเดีย

ในวันที่ ‘คังคุไบ’ กำลังเป็นกระแส ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก สะท้อนปัญหาการค้ามนุษย์และการค้าประเวณี ปัญหาที่ฝังรากลึกในอินเดียมานาน จากทั้งปัญหาความยากจน และค่านิยมทางสังคมและศาสนา ผ่านเรื่องราวของคังคุไบ รวมทั้งความพยายามขจัดปัญหาดังกล่าวในปัจจุบันของรัฐบาลอินเดีย

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก

24 May 2022

Asia

7 Apr 2022

เข้าใจความเป็นกลางแบบอินเดีย ท่ามกลางวิกฤตรัสเซีย-ยูเครน

ภาสกร ธรรมโชติ ชวนทำความเข้าใจท่าทีของอินเดีย ที่เลือกวางตัวเป็นกลางท่ามกลางวิกฤตความขัดแย้งระหว่างรัสเซีย-ยูเครน

ภาสกร ธรรมโชติ

7 Apr 2022

Asia

28 Mar 2022

เมื่อพรรค BJP และชาตินิยมฮินดูยังได้ไปต่อ(?): สังเกตการณ์การเมืองอินเดียหลังการเลือกตั้งระดับรัฐ

ศิวศิลป์ จุ้ยเจริญ วิเคราะห์ผลการเลือกตั้งระดับรัฐของอินเดียช่วงต้นปี 2022 ซึ่งบ่งบอกถึงความนิยมในพรรครัฐบาลบีเจพีที่ยังแข็งแกร่ง และแนวคิดชาตินิยมฮินดูที่กำลังขยายตัว

ศิวศิลป์ จุ้ยเจริญ

28 Mar 2022
1 2 3 5

RECOMMENDED

Social Issues

17 Feb 2017

อ่านข่าวออนไลน์จากสำนักไหน ใครจำได้บ้าง

แน่นอน คนเราอ่านข่าวออนไลน์กันมากขึ้น แต่เราจำได้หรือเปล่าว่าข่าวไหนมาจากสำนักไหน ใครวิเคราะห์อะไรบ้าง ได้ตามข่าวไหนต่อเป็นพิเศษหรือเปล่า วิธีอ่านข่าวออนไลน์ของเราเป็นอย่างไร

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Social Issues

17 Feb 2017

น้ำแข็งขั้วโลกหดตัวต่ำสุดในประวัติศาสตร์ ไม่ใช่แค่ขั้วเดียว-แต่ทั้งสองขั้วเลย!

ขั้วโลกเหนือเป็นฤดูหนาว ขั้วโลกใต้เป็นฤดูร้อน แต่ที่เหมือนกันก็คือ ไม่ว่าจะหนาวจะร้อน ทั้งสองขั้วโลกต่างมีอาการ ‘น้ำแข็งหดตัว’ จนเกิดสถิติใหม่อย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อนด้วยกันทั้งคู่!

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Life & Culture

20 Feb 2017

พื้นที่สาธารณะ พื้นที่ของใครกันแน่?

ดัชนีชี้วัดความสุขประชากรในเมืองขึ้นอยู่กับอะไรบ้าง ห้างสวยแอร์เย็น รถไฟฟ้าไร้โฆษณา หรือจริงๆ มนุษย์เมืองล้วนต้องการพื้นที่สาธารณะที่เป็น ‘สาธารณะ’ จริงๆ

เทพพิทักษ์ มณีพงษ์

20 Feb 2017

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save