โลกของโดนัลด์ ทรัมป์: “ไม่มีใครอยู่เหนือกฎหมาย” (ของใคร)
ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ ชวนมองความพยายามของกระทรวงยุติธรรมสหรัฐฯ ในการดำเนินคดีกับโดนัลด์ ทรัมป์ ซึ่งเริ่มต้นด้วยคดีปลอมแปลงเอกสารการเงิน

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ ชวนมองความพยายามของกระทรวงยุติธรรมสหรัฐฯ ในการดำเนินคดีกับโดนัลด์ ทรัมป์ ซึ่งเริ่มต้นด้วยคดีปลอมแปลงเอกสารการเงิน
ต่อพงศ์ กิตติยานุพงศ์ ชี้ชวนให้เห็นถึงปัญหาเรื่องพลังแห่งเหตุผลในการทำคำพิพากษาของศาล โดยเฉพาะในคดีการเมืองที่กระทบต่อผลประโยชน์และความรู้สึกของประชาชน
สมชาย ปรีชาศิลปกุล เสนอประเด็นที่ควรต้องปฏิรูปศาล ท่ามกลางการวิจารณ์ของประชาชนจำนวนมากว่าศาลไม่อาจปกป้องสิทธิเสรีภาพของประชาชนจากการคุกคามของอำนาจรัฐได้อย่างมีความหมาย
มุนินทร์ พงศาปาน ชวนพิจารณาการดำรงอยู่ของศาลรัฐธรรมนูญไทย โดยเฉพาะบทบาทในการปกป้องคุณค่าประชาธิปไตยและสิทธิเสรีภาพขั้นพื้นฐานของประชาชน
เข็มทอง ต้นสกุลรุ่งเรือง ชวนคิดถึงสาเหตุที่ทำให้คนธรรมดาคนหนึ่งสามารถออกคำสั่งที่โหดร้ายต่อเพื่อนมนุษย์ด้วยกันได้ โดยเฉพาะหากมองว่าสิ่งนี้เป็นเรื่องของ ‘ระบบ’
เข็มทอง ต้นสกุลรุ่งเรือง แนะนำให้รู้จัก ‘court packing’ หรือการเปลี่ยนแปลงองค์ประกอบคณะตุลาการโดยฝ่ายการเมือง
มุนินทร์ พงศาปาน ชวนพิจารณารูปแบบการเขียนคำพิพากษาและคำสั่งของศาลไทยที่สั้นจนดูเหมือนจะเน้นไปที่ ‘ผล’ หรือ ‘ธงคำตอบ’ มากกว่า ‘เหตุผลในทางกฎหมาย’
101 สนทนากับ ผศ.สุทธิชัย งามชื่นสุวรรณ ถึงผลกระทบจากคำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญในคดีล้มล้างการปกครองและคดีสมรสเท่าเทียม บทบาทหน้าที่ของศาลรัฐธรรมนูญ และการเรียนการสอนนิติศาสตร์ไทย
ปกป้อง ศรีสนิท อธิบายถึงวิธีคิดของสิทธิที่จะพบศาลภายหลังถูกจับกุมและควบคุมตัว และบทบาทของศาลในการพิทักษ์เสรีภาพปัจเจกชน
สมชาย ปรีชาศิลปกุล ชวนพิจารณาคุณลักษณะของตุลาการศาลรัฐธรรมนูญที่อาจช่วยทำความเข้าใจปัจจัยที่ส่งผลต่อคำวินิจฉัยกรณีสมรสเท่าเทียม
สมชาย ปรีชาศิลปกุล ชวนมองถึงเหตุผลที่ทำให้คดีละเมิดอำนาจศาลถูกตีความในขอบเขตที่กว้างขวางออกไปมากกว่าการขัดขวางกระบวนการพิจารณาในชั้นศาล
101 In Focus ชวนคุยเรื่อง ‘รัฐประหาร 2549 อำนาจทหาร-ตุลาการในการเมืองไทย’ จากตุลาการภิวัตน์สังคมไทยดำเนินมาถึง ‘นิติสงคราม’ ได้อย่างไร และวิธีคิดของทหารแบบไหนที่ทำให้การรัฐประหารเกิดในสังคมไทยไม่หยุดหย่อน
101 ชวนอ่านความเห็นของ ธงทอง จันทรางศุ ต่อเรื่องบทบาทตุลาการกับการธำรงรักษาระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขให้ยั่งยืน และการทำงานในพระปรมาภิไธยนั้นควรมีหลักการอย่างไร
สมชาย ปรีชาศิลปกุล ชวนมองอุดมการณ์ของผู้พิพากษาผ่านเหตุการณ์พฤษภาทมิฬ อันเป็นภาพแทนความสัมพันธ์ระหว่างฝ่ายตุลาการและพระมหากษัตริย์
เข็มทอง ต้นสกุลรุ่งเรือง เขียนถึงตัวอย่างของการลงทัณฑ์ตุลาการในอาร์เจนตินาที่ต้องมีการล้างบางองค์กร ปรับคุณค่าและวัฒนธรรมองค์กรใหม่ เพื่อรองรับการนำเผด็จการเข้าสู่กระบวนการยุติธรรมต่อไป
ระบบ Recommend จะคัดสรรบทความและสื่อสร้างสรรค์ต่างๆ ที่คุณสนใจ มาให้คุณเลือกในหน้าโปรไฟล์ส่วนตัวของคุณ ให้คุณไม่พลาดทุกเนื้อหาที่คัดมาสำหรับคุณโดยเฉพาะ
คุณสามารถบันทึกบทความแบบ Read Later โดยคลิกที่ปุ่ม Bookmark Icon หรือจะเก็บบทความที่ชื่นชอบเป็นการส่วนตัวไว้ในหมวด Favorite โดยคลิกที่ปุ่ม Favorite Icon เพื่อกลับมาอ่านในภายหลัง
เพียงคุณลงชื่อเข้าใช้ ระบบจะจดจำตัวเลือกฟอนต์และธีมสีที่คุณเคยเลือก ให้คุณอ่านและรับชมทุกเนื้อหาอย่างเต็มที่ สบายตาและเพลิดเพลินใจในแบบที่เหมาะกับคุณ ไม่ว่าจะใช้งานบนคอมพิวเตอร์ แท็บเล็ต หรือสมาร์ตโฟน
เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า