fbpx

Lifestyle

26 Jul 2020

พาสต้าง่ายในวันยาก

กับข้าวกับแขก ตอนใหม่ คำ ผกา แชร์วิธีการบริหารวัตถุดิบในครัว ให้คุณสามารถรังสรรค์เมนูอร่อยๆ จากวัตถุดิบดีๆ ได้ไม่ขาด พร้อมเผยสูตรพาสต้าทะเล ที่ใช้เวลาทำเพียงแค่ 12 นาที

คำ ผกา

26 Jul 2020

Lifestyle

28 Apr 2020

แกะรอยสาแหรกรสชาติจากเทคนิคการปรุง: จาก ‘ข้าวเม็กซิกัน’ สู่ ‘ข้าวผัดอเมริกัน’

ณัฎฐา ชื่นวัฒนา พาสืบหาประวัติศาสตร์ที่มาของข้าวผัดอเมริกัน ผ่านการปรุงอาหารของคนในอดีต จาก “ข้าวสเปน” ในเม็กซิโก, “ข้าวเม็กซิกัน” ในอเมริกา, สู่ “ข้าวผัดอเมริกัน” ที่เรารู้จักกันในประเทศไทย

ณัฎฐา ชื่นวัฒนา

28 Apr 2020

Lifestyle

24 Apr 2020

คั่วงุ้น – ผัดวุ้นเส้น

คำ ผกา ชวนทำคั่วงุ้น หรือผัดวุ้นเส้น เมนูที่มีพระเอกเป็นวุ้นเส้น และปรับเปลี่ยนวัตถุดิบได้ตามของที่มีในตู้ ส่วน #กับข้าวกับแขก ตอนนี้ เลือกผัดวุ้นเส้นกับจิ๊นส้ม หอมเตียม(กระเทียมดอง) และไข่เค็ม

คำ ผกา

24 Apr 2020

Lifestyle

26 Mar 2020

โบราณคดีล่องหนของคนชั้นล่าง ห้องครัวในพิพิธภัณฑ์ กับ พายมันเทศ

คอลัมน์โบราณการครัว ณัฎฐา ชื่นวัฒนา เขียนถึง อดีตที่เคยล่องหนของทาสผิวดำ และเมนู “พายมันเทศ” จากสูตรที่มีอายุกว่าร้อยปีของแม่ครัวผิวดำ

ณัฎฐา ชื่นวัฒนา

26 Mar 2020

Lifestyle

19 Mar 2020

อยู่กับแยมและปล่อยให้โลกหมุนไป

คำ ผกา ชวนทำแยมจาก ‘มะยงชิด’ ผลไม้ที่ให้กลิ่นหอมหวานเป็นเอกลักษณ์ เช่นเคย เมนูนี้ทำง่ายๆ ได้เองที่บ้าน กินคู่กับสโกนที่อบจนกรุ่นกลิ่นเนย สัมผัสความหวานยามโลกหมุนไป

คำ ผกา

19 Mar 2020

Lifestyle

27 Feb 2020

ปลาร้าหอม เต้าหู้เหม็น: ความจำเป็นที่กลายเป็นรสแห่งวัฒนธรรม (2)

คอลัมน์ #โบราณการครัว ตอนใหม่ ณัฎฐา ชื่นวัฒนา เขียนถึงเรื่องราวของ ปลาร้าและเต้าหู้เหม็น สองรสชาติแห่งวัฒนธรรมที่มีมาเนิ่นนาน ในรอยต่อของสมัยก่อนประวัติศาสตร์และสมัยทวาราวดีในประเทศไทย

ณัฎฐา ชื่นวัฒนา

27 Feb 2020

Lifestyle

18 Feb 2020

อาหารยามยุ่งกับไส้อั่วผัดเส้น

กับข้าวกับแขก ตอนใหม่ คำ ผกา เล่าเรื่องการทำอาหารในยามยุ่ง ของสดของแห้งอะไรที่ควรมีติดครัวไว้ ลงมือต้มผัดได้ไม่ยาก และนำเสนอ “ไส้อั่วผัดเส้น” จานเด็ดที่แค่อ่านชื่อก็จินตนาการได้ถึงกลิ่นหอมๆ

คำ ผกา

18 Feb 2020

Lifestyle

4 Feb 2020

ประวัติชาติพันธุ์วรรณนาของปลาร้า: ความจำเป็นที่กลายเป็นรสแห่งวัฒนธรรม (1)

คอลัมน์ #โบราณการครัว เดือนนี้ ณัฎฐา ชื่นวัฒนา เขียนถึง #ปลาร้า การถนอมอาหารที่เกิดขึ้นกว่า 10,000 ปีในยุคก่อนประวัติศาสตร์ของชาวตะวันตก

ณัฎฐา ชื่นวัฒนา

4 Feb 2020

Lifestyle

10 Jan 2020

จานอร่อยจากจารึกบาบิโลน : เมื่อคนนอกคืนรสชาติให้ตำรับอาหารสี่พันปี

‘โบราณการครัว’ คอลัมน์ใหม่จาก ณัฎฐา ชื่นวัฒนา นักโบราณพฤกษคดี ที่จะมาชวนผู้อ่านเข้าครัวทำอาหารจากอดีต ประเดิมเมนูแรกด้วย ทุฮ์อู (Tuh’u) อาหารของชาวบาบิโลเนียน กับสูตรที่ถูกบันทึกบนจารึกอักษรคูนิฟอร์ม

ณัฎฐา ชื่นวัฒนา

10 Jan 2020

Lifestyle

17 Dec 2019

น้ำพริกแดงบ่าเขือส้มจี่

กับข้าวกับแขก เดือนนี้ คำ ผกา เขียนถึง น้ำพริกแดงบ่าเขือส้มจี่ สำรับพื้นฐานของคนเมือง ที่กินคู่กับข้าวเหนียวนึ่งและจิ๊นปิ้งได้อร่อยเหลือร้าย

คำ ผกา

17 Dec 2019

Lifestyle

23 May 2018

ตำกบ

คนฝรั่งเศสอาจหลงรักขากบผัดเนย แต่สาวเชียงใหม่อย่าง คำ ผกา มีเมนูกบประจำใจของเธอเองที่ยอดเยี่ยมไม่แพ้กัน นั่นคือ ‘ตำกบ’
รอช้าอยู่ไย เราท่านควรเฉลิมฉลองหน้าฝน ด้วยการอ่านสูตรเมนูกบ เตรียมเครื่องเคราให้พร้อม แล้วนำอาหารแห่งฤดูกาลมารับประทานกันเถิด!

คำ ผกา

23 May 2018

กับข้าวกับแขก

14 Feb 2018

ว่าด้วย “เจี๋ยว”

#กับข้าวกับแขก ตอนแรก คำ ผกา จะพาไปรู้จักกับ ‘เจี๋ยว’ อาหารจากภาคเหนือหน้าตาละม้ายคล้ายแกงจืดของคนภาคกลาง เจี๋ยวคืออะไร เจี๋ยวทำอย่างไร แล้วเจี๋ยวควรกินคู่กับอะไรถึงจะอร่อย

คำ ผกา

14 Feb 2018

Lifestyle

14 Nov 2017

I eat, Therefore I am. เมื่อปรัชญามาเจออาหาร

อ.ตุล – คมกฤช อุ่ยเต็กเค่ง แห่งภาควิชาปรัชญา ศิลปากร จะมาชวนคุยด้วยคำถามที่ฟังดูบ้าบอหลุดโลกว่า – อาหารคืออะไร?

แต่ อ.ตุล บอกว่าในสายตาของนัก/คนเรียน-ปรัชญา คำถามนี้เป็นคำถามขั้น “พื้นฐาน” ที่สำคัญอย่างยิ่ง พอๆ กับการถามว่า “มนุษย์คืออะไร?” “ชีวิตคืออะไร ?” เลยทีเดียว

คมกฤช อุ่ยเต็กเค่ง

14 Nov 2017

Thai Politics

9 Nov 2017

ก๋วยเตี๋ยว กับ ปฏิวัติ 2475

อาหารการกินไม่ได้มีความสำคัญกับเราในแง่การดำรงชีวิตเท่านั้น แต่มันยังสำคัญกับเราในแง่การสร้างความหมายให้กับตัวเราอีกด้วย

ก๋วยเตี๋ยว อาหารเลื่องชื่อของคนไทยมีส่วนในการเปลี่ยนแปลงความหมายของพวกเราอย่างไร และไปเกี่ยวอะไรกับ ปฏิวัติ 2475 ไปดูกันครับ

วชิรวิทย์ คงคาลัย

9 Nov 2017
1 2 3

RECOMMENDED

Social Issues

17 Feb 2017

อ่านข่าวออนไลน์จากสำนักไหน ใครจำได้บ้าง

แน่นอน คนเราอ่านข่าวออนไลน์กันมากขึ้น แต่เราจำได้หรือเปล่าว่าข่าวไหนมาจากสำนักไหน ใครวิเคราะห์อะไรบ้าง ได้ตามข่าวไหนต่อเป็นพิเศษหรือเปล่า วิธีอ่านข่าวออนไลน์ของเราเป็นอย่างไร

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Social Issues

17 Feb 2017

น้ำแข็งขั้วโลกหดตัวต่ำสุดในประวัติศาสตร์ ไม่ใช่แค่ขั้วเดียว-แต่ทั้งสองขั้วเลย!

ขั้วโลกเหนือเป็นฤดูหนาว ขั้วโลกใต้เป็นฤดูร้อน แต่ที่เหมือนกันก็คือ ไม่ว่าจะหนาวจะร้อน ทั้งสองขั้วโลกต่างมีอาการ ‘น้ำแข็งหดตัว’ จนเกิดสถิติใหม่อย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อนด้วยกันทั้งคู่!

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Life & Culture

20 Feb 2017

พื้นที่สาธารณะ พื้นที่ของใครกันแน่?

ดัชนีชี้วัดความสุขประชากรในเมืองขึ้นอยู่กับอะไรบ้าง ห้างสวยแอร์เย็น รถไฟฟ้าไร้โฆษณา หรือจริงๆ มนุษย์เมืองล้วนต้องการพื้นที่สาธารณะที่เป็น ‘สาธารณะ’ จริงๆ

เทพพิทักษ์ มณีพงษ์

20 Feb 2017

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save