ทักษิณ ศราวัต ของ ป. บูรณปกรณ์
อาชญาสิทธิ์ ศรีสุวรรณ เขียนถึงนวนิยาย ‘มลฤดีวิลาส’ ของ ป. บูรณปกรณ์ ที่มีตัวละครชายนามว่า ‘ทักษิณ ศราวัต’ ผู้มีชื่อละม้ายคล้ายอดีตนายกฯ ทักษิณ ชินวัตร

อาชญาสิทธิ์ ศรีสุวรรณ เขียนถึงนวนิยาย ‘มลฤดีวิลาส’ ของ ป. บูรณปกรณ์ ที่มีตัวละครชายนามว่า ‘ทักษิณ ศราวัต’ ผู้มีชื่อละม้ายคล้ายอดีตนายกฯ ทักษิณ ชินวัตร
อาชญาสิทธิ์ ศรีสุวรรณ เขียนถึงอนุภรรยาสาวชาวอุดรธานีของจอมพล ป. พิบูลสงคราม ผู้มีนามว่า ‘คำนึงนิตย์ วงศ์วัฒนะ’ ชีวิตรักของท่านผู้นำวัย 60 ปีและอดีตผู้เข้าประกวดเวทีนางสาวไทยผู้นี้ ทำให้จอมพล ป. ถูกวิจารณ์ว่าเชิดชูนโยบายผัวเดียวเมียเดียวแต่กลับมีหลายเมียเสียเอง
อาชญาสิทธิ์ ศรีสุวรรณ เล่าถึงคำกล่าวอ้างในยุคหลังเปลี่ยนแปลงการปกครอง 2475 ที่ว่าคณะราษฎรผู้เป็นนักเรียนนอกจากฝรั่งเศส รับเอาวัฒนธรรมความหลงใหลเรื่องโป๊เปลือยติดตัวกลับคืนมาสู่เมืองไทย และกล่าวถึงนโยบายจัดระเบียบศีลธรรมประชาชนของรัฐบาล
อาชญาสิทธิ์ ศรีสุวรรณ เขียนถึง ‘สาย ศรีสะเกษ’ บุคคลที่กล่าวกันว่าเป็นต้นแบบของตัวละคร ‘สาย สีมา’ ในอมตะนิยาย ‘ปีศาจ’ ของเสนีย์ เสาวพงศ์ แม้ ‘สาย สีมา’ ในนิยาย มักถูกหยิบยกมาใช้เป็นสัญลักษณ์ของฝ่ายซ้าย แต่ ‘สาย’ นอกหนังสือ เขาคือข้าราชการผู้วุ่นวายอยู่กับการปราบปรามคอมมิวนิสต์
อาชญาสิทธิ์ ศรีสุวรรณ เขียนถึงการฉาย ‘หนังโป๊’ ภายในมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ในทศวรรษ 2490-2510 จนเกิดการร้องเรียนขึ้น และเผยอีกแง่มุมของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ที่ถูกเอ่ยถึงบ่อยครั้งในหนังสือโป๊
อาชญาสิทธิ์ ศรีสุวรรณ เขียนถึงแฟง สุขสาร หรือ ‘มหาแฟง’ ชายผู้ไม่ย่อท้อในการลงสมัครรับเลือกตั้งเป็น ส.ส. จนพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวตรัสว่า ถ้าพระองค์ไปเลือกตั้ง จะทรงเลือกเขา
อาชญาสิทธิ์ ศรีสุวรรณ เล่าถึงผลงานของอังคาร กัลยาณพงศ์ กวีซีไรต์ผู้ล่วงลับ กับทัศนคติด้านการเมืองต่อคณะราษฎรและปรีดี พนมยงค์ผ่านบทกวีของเขา
อาชญาสิทธิ์ ศรีสุวรรณ เขียนถึงประวัติศาสตร์การแปลผลงานของเชกสเปียร์ Romeo and Juliet มาเป็นภาษาไทย ที่ใครหลายคนอาจไม่เคยรู้
อาชญาสิทธิ์ ศรีสุวรรณ เขียนถึงจังหวะชีวิตของวัฒน์ วรรลยางกูรกับนิตยสารยานเกราะ ที่เป็นทั้งนิตยสารแจ้งเกิดเส้นทางนักเขียนและผลักให้เขาต้องหลบลี้ภัยการเมืองเมื่อ 6 ตุลาคม 2519
จากกระแสการตามหาหนังสือพิมพ์เอกราช ที่ถูกอ้างอิงในงานวิชาการของณัฐพล ใจจริง อาชญาสิทธิ์ ศรีสุวรรณ เขียนถึงเจ้าของหนังสือพิมพ์ดังกล่าว นามอิศรา อมันตกุล
อาชญาสิทธิ์ ศรีสุวรรณ เล่าถึงเรื่องราว ที่มาที่ไป เมื่อครั้งหนึ่ง อีสานเคยถูกเปรียบเหมือนบาหลีแห่งสยาม
เหตุใดมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์จึงจะถูกย้ายและกลายเป็นโรงแรม? อาชญาสิทธิ์ ศรีสุวรรณ เขียนถึงเรื่องราวการปกป้องสถานศึกษาจากอำนาจรัฐของชาว มธก.
อาชญาสิทธิ์ ศรีสุวรรณ ชวนอ่าน ‘เสาไห้’ นวนิยายเล่มแรกของ ‘วิตต์ สุทธเสถียร’ นักเขียนคนสำคัญในยุคหลังสงครามโลกครั้งที่ 2
อาชญาสิทธิ์ ศรีสุวรรณ พาย้อนรำลึกถึงการอภิวัฒน์สยาม 2475 ผ่านกิจกรรมกินดื่มของคณะราษฎร
อาชญาสิทธิ์ ศรีสุวรรณ เขียนถึง ‘พระนางราโชอาห์’ งานเขียนชิ้นแรกๆ ของศรีบูรพา ที่เป็น ‘เรื่องอ่านเล่น’ สไตล์ฟันดาบและประโลมโลก ก่อนที่เขาจะกลายมาเป็นนักเขียนสะท้อนสังคมและชีวิต
ระบบ Recommend จะคัดสรรบทความและสื่อสร้างสรรค์ต่างๆ ที่คุณสนใจ มาให้คุณเลือกในหน้าโปรไฟล์ส่วนตัวของคุณ ให้คุณไม่พลาดทุกเนื้อหาที่คัดมาสำหรับคุณโดยเฉพาะ
คุณสามารถบันทึกบทความแบบ Read Later โดยคลิกที่ปุ่ม Bookmark Icon หรือจะเก็บบทความที่ชื่นชอบเป็นการส่วนตัวไว้ในหมวด Favorite โดยคลิกที่ปุ่ม Favorite Icon เพื่อกลับมาอ่านในภายหลัง
เพียงคุณลงชื่อเข้าใช้ ระบบจะจดจำตัวเลือกฟอนต์และธีมสีที่คุณเคยเลือก ให้คุณอ่านและรับชมทุกเนื้อหาอย่างเต็มที่ สบายตาและเพลิดเพลินใจในแบบที่เหมาะกับคุณ ไม่ว่าจะใช้งานบนคอมพิวเตอร์ แท็บเล็ต หรือสมาร์ตโฟน
เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า