fbpx

World

26 Aug 2021

ชิงสุกก่อนห่าม?: ซูการ์โนถูกลักพาตัวบังคับให้ประกาศเอกราช

อรอนงค์ ทิพย์พิมล เล่าประวัติศาสตร์ช่วงเวลาแห่งการประกาศเอกราชของอินโดนีเซีย ซึ่งเกิดเหตุวุ่นวาย เมื่อซูการ์โนถูกนักชาตินิยมรุ่นใหม่ลักพาตัว บีบให้เร่งประกาศเอกราช

อรอนงค์ ทิพย์พิมล

26 Aug 2021

World

17 Aug 2021

โรคระบาด-อำนาจ-การเมือง: ผ่าอาเซียนกลางมรสุมโควิด-19

ภายใต้ตัวเลขผู้ติดเชื้อที่พุ่งขึ้นสูงทุกวัน คำถามสำคัญคือ สิ่งนี้คลี่ให้เห็นปัญหาการเมืองและปัญหาเชิงโครงสร้างอะไรบ้างที่ซ่อนอยู่? 101 สนทนากับ รศ.ดร.นฤมล ทับจุมพล, ปรางค์ทิพย์ ดาวเรือง, รศ.ดร.ยุกติ มุกดาวิจิตร และผศ.ดร.อรอนงค์ ทิพย์พิมล ว่าด้วยสถานการณ์การระบาดโควิดระลอกเดลตาที่เผยให้เห็นถึงการเมืองแบบ ‘อาเซียนๆ’ ในมาเลเซีย พม่า อินโดนีเซีย และเวียดนาม

ณรจญา ตัญจพัฒน์กุล

17 Aug 2021

Talk Programmes

3 Aug 2021

101 (mid)night round “อาเซียนกลางมรสุมโควิด-19”

เมื่อศูนย์กลางการระบาดของโควิด-19 ขยับเคลื่อนเข้ามาสู่เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ 101 ชวนถกถึงสงครามโรคระบาดที่กำลังวิกฤตหนักในภูมิภาค พร้อมเปิดเปลื้องปัญหาเชิงโครงสร้างและปัญหาการเมืองในหลายชาติอาเซียน

กองบรรณาธิการ

3 Aug 2021

World

19 Jul 2021

หมอนักปฏิวัติผู้ปลุกขบวนการชาตินิยมอินโดนีเซีย: โรงเรียนแพทย์พื้นเมืองของเจ้าอาณานิคมดัตช์สอนสิ่งใด?

อรอนงค์ ทิพย์พิมล เขียนถึง ดร.ซูโตโม และโรงเรียนแพทย์พื้นเมือง STOVIA ซึ่งผลิตนักเรียนแพทย์จำนวนมากที่มีบทบาททางสังคมและการเมือง

อรอนงค์ ทิพย์พิมล

19 Jul 2021

Asean

18 Jun 2021

ตัน มะละกา, มิถุนายน และกรุงเทพฯ: ชีวิตและการเดินทางของนักปฏิวัติอินโดนีเซีย

อรอนงค์ ทิพย์พิมล เขียนถึงเส้นทางชีวิตของ ‘ตัน มะละกา’ นักปฏิวัติและผู้นำขบวนการคอมมิวนิสต์คนสำคัญของอินโดนีเซีย

อรอนงค์ ทิพย์พิมล

18 Jun 2021

Asean

23 May 2021

Iwan Fals: นักดนตรีเพลงเพื่อชีวิตอินโดนีเซียผู้ไม่เชลียร์เผด็จการ

อรอนงค์ ทิพย์พิมล เขียนถึง Iwan Fals นักดนตรีเพลงเพื่อชีวิตชาวอินโดนีเซีย ที่มีชื่อเสียงในระดับโลกจากการวิจารณ์การเมืองและผู้นำเผด็จการผ่านบทเพลง

อรอนงค์ ทิพย์พิมล

23 May 2021

World

28 Apr 2021

เหตุการณ์ที่ดุซงญอ เดือนเมษายน ปี 2491: กบฏดุซงญอ สงครามดุซงญอ หรือ ดุซงญอลุกขึ้นสู้?

อรอนงค์ ทิพย์พิมล เขียนเกี่ยวกับเหตุการณ์ที่ดุซงญอ หนึ่งในประวัติศาสตร์บาดแผลของชาวมลายูปาตานี ที่ปัจจุบันยังมีความไม่ลงรอยกัน และมีการจำรวมถึงเล่าเหตุการณ์ที่แตกต่างกันมากมาย

อรอนงค์ ทิพย์พิมล

28 Apr 2021

World

18 Mar 2021

112 ปีของสนธิสัญญาแองโกล-สยาม: จากมุมของสี่รัฐมลายู กลันตัน ตรังกานู เคดะห์ และเปอร์ลิส

เนื่องในโอกาสครบรอบ 112 ปี สนธิสัญญาแองโกล-สยาม 1909 อรอนงค์ ทิพย์พิมล ชวนทบทวนความสัมพันธ์ของสี่รัฐมลายูกับสยามก่อนปี 1909 และฉายภาพมุมมองของสี่รัฐมลายูที่มีต่อสนธิสัญญาดังกล่าว

อรอนงค์ ทิพย์พิมล

18 Mar 2021

World

21 Feb 2021

เป็นทหารทำไมรวยจัง?: ทหารอินโดนีเซียกับธุรกิจตั้งแต่ประกาศเอกราชจนถึงปัจจุบัน

อรอนงค์ ทิพย์พิมล ชวนสำรวจความสัมพันธ์ของทหารอินโดนีเซียกับการทำธุรกิจ ตั้งแต่ช่วงหลังประกาศเอกราชจนถึงปัจจุบัน เพื่อตอบคำถามว่า “เป็นทหาร (อินโดนีเซีย) ทำไมรวยจัง?”

อรอนงค์ ทิพย์พิมล

21 Feb 2021

Justice & Human Rights

21 Jan 2021

การเมืองเรื่องศีลธรรม: สองทศวรรษของการใช้กฎหมายอิสลามที่อาเจะห์

อรอนงค์ ทิพย์พิมล เขียนเรื่องการบังคับใช้กฎหมายอิสลามอย่างเป็นทางการที่ ‘อาเจะห์’ จังหวัดปกครองพิเศษในประเทศอินโดนีเซีย ไล่เรียงตั้งแต่ความเป็นมา และประเด็นข้อถกเถียงวิพากษ์วิจารณ์หลังการบังคับใช้กฎหมายแล้ว

อรอนงค์ ทิพย์พิมล

21 Jan 2021

World

21 Dec 2020

ครั้งหนึ่ง “ปาตานี” เกือบจะได้เป็นส่วนหนึ่งของ Melayu Raya (Indonesia Raya)

อรอนงค์ ทิพย์พิมล เขียนถึง Tengku Mahmood Mahyiddeen บุคคลสำคัญของปาตานีและผู้ที่มีบทบาทในประวัติศาสตร์มาเลเซีย รวมถึงแนวคิดทางการเมืองที่เรียกว่า Melayu Raya (Indonesia Raya) และเหตุการณ์ในสมัยสงครามโลกครั้งที่สอง

อรอนงค์ ทิพย์พิมล

21 Dec 2020

World

15 Oct 2020

55 ปีเหตุการณ์เกสตาปู: การสังหารหมู่คอมมิวนิสต์ในอินโดนีเซีย (2)

อรอนงค์ ทิพย์พิมล เขียนถึงเรื่องราวหลังจาก ‘เหตุการณ์เกสตาปู’ จุดเริ่มต้นการสังหารหมู่สมาชิกพรรคคอมมิวนิสต์อินโดนีเซียในช่วงปี 2508-9 ซึ่งเป็นเหตุการณ์การสังหารหมู่ที่เลวร้ายที่สุดเหตุการณ์หนึ่งของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้หรือแม้กระทั่งของโลก

อรอนงค์ ทิพย์พิมล

15 Oct 2020

World

21 Sep 2020

55 ปีเหตุการณ์เกสตาปู: การสังหารหมู่คอมมิวนิสต์ในอินโดนีเซีย (1)

อรอนงค์ ทิพย์พิมล เขียนถึง ‘เหตุการณ์เกสตาปู’ จุดเริ่มต้นการสังหารหมู่สมาชิกพรรคคอมมิวนิสต์อินโดนีเซียในช่วงปี 2508-9 ซึ่งเป็นเหตุการณ์การสังหารหมู่ที่เลวร้ายที่สุดเหตุการณ์หนึ่งของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้หรือแม้กระทั่งของโลก

อรอนงค์ ทิพย์พิมล

21 Sep 2020

World

20 Aug 2020

ภาษาอินโดนีเซีย ภาษาของวิถีอาเซียน ภาษาของความเท่าเทียม (?)

อรอนงค์ ทิพย์พิมล เขียนถึงอิทธิพลของภาษาอินโดนีเซียต่อการทำงานของสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (อาเซียน) และวิถีอาเซียน

อรอนงค์ ทิพย์พิมล

20 Aug 2020
1 2 3 4

RECOMMENDED

Social Issues

17 Feb 2017

อ่านข่าวออนไลน์จากสำนักไหน ใครจำได้บ้าง

แน่นอน คนเราอ่านข่าวออนไลน์กันมากขึ้น แต่เราจำได้หรือเปล่าว่าข่าวไหนมาจากสำนักไหน ใครวิเคราะห์อะไรบ้าง ได้ตามข่าวไหนต่อเป็นพิเศษหรือเปล่า วิธีอ่านข่าวออนไลน์ของเราเป็นอย่างไร

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Social Issues

17 Feb 2017

น้ำแข็งขั้วโลกหดตัวต่ำสุดในประวัติศาสตร์ ไม่ใช่แค่ขั้วเดียว-แต่ทั้งสองขั้วเลย!

ขั้วโลกเหนือเป็นฤดูหนาว ขั้วโลกใต้เป็นฤดูร้อน แต่ที่เหมือนกันก็คือ ไม่ว่าจะหนาวจะร้อน ทั้งสองขั้วโลกต่างมีอาการ ‘น้ำแข็งหดตัว’ จนเกิดสถิติใหม่อย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อนด้วยกันทั้งคู่!

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Life & Culture

20 Feb 2017

พื้นที่สาธารณะ พื้นที่ของใครกันแน่?

ดัชนีชี้วัดความสุขประชากรในเมืองขึ้นอยู่กับอะไรบ้าง ห้างสวยแอร์เย็น รถไฟฟ้าไร้โฆษณา หรือจริงๆ มนุษย์เมืองล้วนต้องการพื้นที่สาธารณะที่เป็น ‘สาธารณะ’ จริงๆ

เทพพิทักษ์ มณีพงษ์

20 Feb 2017

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save