fbpx

World

22 Jan 2023

จากเจ้าภาพการประชุม G20 สู่ประธานอาเซียน 2023: บทบาทของอินโดนีเซียที่น่าจับตามอง

อรอนงค์ ทิพย์พิมล เขียนถึงบทบาทอันน่าจับตาต่อไปของอินโดนีเซีย ที่เพิ่งได้รับการส่งมอบตำแหน่งประธานอาเซียนสำหรับปี 2023 อย่างเป็นทางการ หลังเพิ่งเป็นเจ้าภาพจัดการประชุมกลุ่มประเทศ G20 เมื่อปลายปี 2022 ที่ผ่านมา

อรอนงค์ ทิพย์พิมล

22 Jan 2023

World

19 Dec 2022

กฎหมายห้ามมีเพศสัมพันธ์นอกสมรสในอินโดนีเซีย: ประวัติศาสตร์ ศาสนา การเมือง และเรื่องสิทธิมนุษยชน

อรอนงค์ ทิพย์พิมล ชวนสำรวจประเด็นร้อน เมื่อสภาของประเทศอินโดนีเซียผ่านร่างแก้ไขกฎหมายอาญาห้ามมีเพศสัมพันธ์นอกสมรส ที่ดูเหมือนว่าจะมีอิทธิพลของศาสนาอิมลามด้วยอย่างปฏิเสธไม่ได้

อรอนงค์ ทิพย์พิมล

19 Dec 2022

Asean

21 Nov 2022

ความเชื่อเรื่อง “นาค” ในอินโดนีเซีย

หลังจากรัฐบาลไทยกำหนดให้ ‘นาค’ เป็นเอกลักษณ์ประจำชาติ
อรอนงค์ ทิพย์พิมล จึงชวนสำรวจความเชื่อเรื่องนาคในอินโดนีเซีย ผ่านตำนานและเรื่องเล่าที่ส่งต่อกันมาหลายร้อยปี

อรอนงค์ ทิพย์พิมล

21 Nov 2022

World

23 Oct 2022

เมื่อรัฐไม่ให้ความยุติธรรม ประชาชนจึงลุกขึ้นมาชำระสะสางเอง: ศาลประชาชนระหว่างประเทศกรณีการสังหารหมู่คอมมิวนิสต์ในอินโดนีเซีย

อรอนงค์ ทิพย์พิมล เล่าถึงเหตุการณ์สังหารหมู่ครั้งใหญ่ที่อินโดนีเซียในปี 1965-1966 ซึ่งยังผลให้มีผู้เสียชีวิตราว 500,000-2,000,000 คน โดยหน้าที่ชำระสะสางประวัติศาสตร์เลือดตกเป็นของประชาชนเมื่อรัฐเมินเฉยต่อหน้าที่ดังกล่าว

อรอนงค์ ทิพย์พิมล

23 Oct 2022

World

19 Aug 2022

17 ปีสันติภาพที่อาเจะห์: สำรวจมุมมองและท่าทีของฝ่ายต่างๆ  

วันที่ 15 สิงหาคมที่ผ่านมา คือวันครบรอบ 17 ปีสันติภาพที่อาเจะห์หลังรัฐบาลอินโดนีเซียและขบวนการอาเจะห์เอกราชตัดสินใจยุติความรุนแรงที่เกิดขึ้นมานานร่วมสามทศวรรษ อย่างไรก็ตาม ยังมีหลายฝ่ายที่มองว่าประวัติศาสตร์จะยังไม่ได้รับการชำระให้เรียบร้อยตราบใดที่เหยื่อจากความรุนแรงที่เกิดขึ้นยังไม่ได้รับการถูกพูดถึง

อรอนงค์ ทิพย์พิมล

19 Aug 2022

World

21 Jul 2022

คนข้ามเพศสามารถเปลี่ยนคำนำหน้านามได้ในอินโดนีเซีย ≠ ความหลากหลายทางเพศได้รับการยอมรับในสังคม

ในวาระทีเดือนมิถุนายนที่ผ่านมาเป็นเดือนแห่งเทศกาลไพรด์ (Pride Month) อรอนงค์ ทิพย์พิมล เขียนเล่าถึงบทบาทของกลุ่มผู้มีความหลากหลายทางเพศ (LGBT+) ในอินโดนีเซีย ที่ยังไม่ค่อยได้รับการยอมรับในอินโดนีเซียทั้งด้านสังคมและกฎหมาย นำมาซึ่งการต่อสู้ด้านสิทธิมนุษยชนต่อประเด็นนี้ที่ยาวนานกว่าสี่ทศวรรษ

อรอนงค์ ทิพย์พิมล

21 Jul 2022

World

19 Jun 2022

รำลึก 24 ปีหลังยุคระเบียบใหม่ (2): มรดกทางการเมืองจากยุคซูฮาร์โต

อรอนงค์ ทิพย์พิมล เขียนถึงการก่อกำเนิดยุค ‘ระเบียบใหม่’ ภายหลังการขึ้นดำรงตำแหน่งประธานาธิบดีของซูฮาร์โต และแม้ยุคดังกล่าวจะล่มสลายไปกว่าสองทศวรรษ หากแต่มันก็ได้มอบมรดกบางอย่างให้แก่อินโดนีเซียจนถึงปัจจุบัน

อรอนงค์ ทิพย์พิมล

19 Jun 2022

World

19 May 2022

รำลึก 24 ปีหลังยุคระเบียบใหม่ (1): ย้อนดูเหตุการณ์และปัจจัยที่นำไปสู่การสิ้นสุดอำนาจของประธานาธิบดีซูฮาร์โต

อรอนงค์ ทิพย์พิมล เขียนถึงการก่อกำเนิดยุค ‘ระเบียบใหม่’ ภายหลังการขึ้นดำรงตำแหน่งประธานาธิบดีของซูฮาร์โต และถึงจุดสิ้นสุดเมื่อนักศึกษา ประชาชนออกมาประท้วงเป็นจำนวนมาก นำมาสู่การพลิกโฉมหน้าประวัติศาสตร์ครั้งใหญ่ของอินโดนีเซีย

อรอนงค์ ทิพย์พิมล

19 May 2022

Life & Culture

21 Mar 2022

ชีวิตและการต่อสู้ของวัน กาเดร์ เจ๊ะมันในสายธารขบวนการต่อสู้เพื่อปลดแอกปาตานี

ในวาระที่ ดร.วันกาเดร์ เจ๊ะมัน อดีตประธานเบอร์ซาตู เสียชีวิตด้วยวัย 82 ปีที่ประเทศมาเลเซีย อรอนงค์ ทิพย์พิมล เขียนถึงชีวิตและการต่อสู้เพื่อปลดแอกปาตานี และเรียกร้องสันติภาพมาอย่างยาวนาน

อรอนงค์ ทิพย์พิมล

21 Mar 2022

Life & Culture

18 Feb 2022

Pontianak ผีตายทั้งกลม ความเชื่อร่วมของคนอุษาคเนย์

อรอนงค์ ทิพย์พิมล เล่าถึงประวัติศาสตร์ความเชื่อเกี่ยวกับ ปอนเตียนัค ผีผู้หญิงตายทั้งกลมและเต็มไปด้วยแรงแค้นของอินโดนีเซีย ที่นอกจากความสยดสยองแล้ว ด้านหนึ่งยังสะท้อนถึงความเหลื่อมล้ำในสังคมชายเป็นใหญ่ด้วย

อรอนงค์ ทิพย์พิมล

18 Feb 2022

Life & Culture

24 Jan 2022

เคยเป็นโรค ‘เข้าลม’ หรือเปล่า?: ทำไมคนอินโดนีเซียจึงไม่ชอบความเย็น

โรคหรืออาการ ‘เข้าลม’ คืออาการที่ผู้ป่วยรู้สึกไม่สบายตัว รู้สึกว่ามีลมเข้าสู่ร่างกาย เชื่อว่าเกิดจากการที่ร่างกายรับความเย็นมากเกินไป ซึ่งทั้งหมดนี้เชื่อมโยงกับวัฒนธรรม ความเป็นอยู่ของชาวอินโดนีเซียด้วย

อรอนงค์ ทิพย์พิมล

24 Jan 2022

World

24 Dec 2021

กินคาวไม่กินหวานสันดานใคร?: ความหวานแบบขมๆ จากยุคอาณานิคม

อรอนงค์ ทิพย์พิมล ชวนย้อนประวัติศาสตร์อินโดนีเซีย เพราะเหตุใดชาวอินโดฯ จึงชอบกินหวาน และน้ำตาลกลายเป็นของแสดงสถานะทางสังคม

อรอนงค์ ทิพย์พิมล

24 Dec 2021

World

23 Nov 2021

ปุตรีอินโดนีเซีย (Puteri Indonesia): ศาสนา การเมือง และเรือนร่างของผู้หญิง

อรอนงค์ ทิพย์พิมล เขียนถึง ‘ปุตรีอินโดนีเซีย’ หรือการประกวดนางงามในอินโดนีเซีย พร้อมแง่มุมที่เชื่อมโยงกับศาสนาและการเมือง

อรอนงค์ ทิพย์พิมล

23 Nov 2021

Asean

19 Oct 2021

บุหรี่ในประวัติศาสตร์อินโดนีเซีย: จาก ‘การบังคับเพาะปลูก’ สู่การบริโภคมากที่สุดในอาเซียน

อรอนงค์ ทิพย์พิมล พาสำรวจประวัติศาสตร์ของ ‘บุหรี่’ ในอินโดนีเซีย ประเทศที่ครองแชมป์สูบบุหรี่สูงสุดของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

อรอนงค์ ทิพย์พิมล

19 Oct 2021

Asean

20 Sep 2021

The King and I(ndonesia): การเสด็จชวาของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

อรอนงค์ ทิพย์พิมล เล่าเกร็ดประวัติศาสตร์การเสด็จประพาสชวา (อินโดนีเซีย) 3 ครั้งของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

อรอนงค์ ทิพย์พิมล

20 Sep 2021
1 2 3 4

RECOMMENDED

Social Issues

17 Feb 2017

อ่านข่าวออนไลน์จากสำนักไหน ใครจำได้บ้าง

แน่นอน คนเราอ่านข่าวออนไลน์กันมากขึ้น แต่เราจำได้หรือเปล่าว่าข่าวไหนมาจากสำนักไหน ใครวิเคราะห์อะไรบ้าง ได้ตามข่าวไหนต่อเป็นพิเศษหรือเปล่า วิธีอ่านข่าวออนไลน์ของเราเป็นอย่างไร

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Social Issues

17 Feb 2017

น้ำแข็งขั้วโลกหดตัวต่ำสุดในประวัติศาสตร์ ไม่ใช่แค่ขั้วเดียว-แต่ทั้งสองขั้วเลย!

ขั้วโลกเหนือเป็นฤดูหนาว ขั้วโลกใต้เป็นฤดูร้อน แต่ที่เหมือนกันก็คือ ไม่ว่าจะหนาวจะร้อน ทั้งสองขั้วโลกต่างมีอาการ ‘น้ำแข็งหดตัว’ จนเกิดสถิติใหม่อย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อนด้วยกันทั้งคู่!

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Life & Culture

20 Feb 2017

พื้นที่สาธารณะ พื้นที่ของใครกันแน่?

ดัชนีชี้วัดความสุขประชากรในเมืองขึ้นอยู่กับอะไรบ้าง ห้างสวยแอร์เย็น รถไฟฟ้าไร้โฆษณา หรือจริงๆ มนุษย์เมืองล้วนต้องการพื้นที่สาธารณะที่เป็น ‘สาธารณะ’ จริงๆ

เทพพิทักษ์ มณีพงษ์

20 Feb 2017

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save