fbpx

Science & Innovation

29 Jun 2020

สมการของความดี : ทำไมลิเบอรัลจึงคุยกับคอนเซอร์เวทีฟไม่รู้เรื่อง

ทีปกร วุฒิพิทยามงคล เขียนถึงโมเดลการมองคุณธรรม ที่ทำให้เรามองสิ่งดีงามและความถูกต้องแตกต่างกัน

ทีปกร วุฒิพิทยามงคล

29 Jun 2020

Science & Innovation

27 May 2020

แก่แล้วเลยเป็นอนุรักษนิยม : ศิลปะของการเปลี่ยนใจ

ทีปกร วุฒิพิทยามงคล ชวนค้นหาคำตอบของคำถามชวนฉงนว่า จริงหรือไม่ ที่ยิ่งเราแก่ตัวลง ยิ่งมีแนวโน้มเป็นพวกอนุรักษนิยมมากขึ้น

ทีปกร วุฒิพิทยามงคล

27 May 2020

Thai Politics

23 Apr 2019

คนมีการศึกษาหลายคนคิดอะไร

วันชัย ตันติวิทยาพิทักษ์ เล่าถึงคนมีการศึกษาและมีสถานะทางสังคมที่เขาได้พบเจอ ว่าทำไมคนเหล่านี้จึงเลือกพรรคที่สนับสนุนรัฐบาลทหาร แม้จะรู้ทั้งรู้ว่าเป็นพรรคที่ได้เปรียบจากกติกาของรัฐธรรมนูญ

วันชัย ตันติวิทยาพิทักษ์

23 Apr 2019

Thai Politics

19 Mar 2019

การเมืองเรื่องยุบพรรคการเมือง

ธำรงศักดิ์ เพชรเลิศอนันต์ มองการยุบพรรคไทยรักษาชาติ แล้วย้อนไปถึงประวัติศาสตร์การยุบพรรคการเมืองไทยตั้งแต่ 2475 จำนวน 365 พรรค อันมีส่วนทำให้พรรคการเมืองไทยไม่เติบโตอย่างต่อเนื่องและไม่สามารถสร้างความเป็นสถาบันการเมืองที่เข้มแข็งได้

ธำรงศักดิ์ เพชรเลิศอนันต์

19 Mar 2019

Politics

11 Mar 2019

‘ฝ่ายประชาธิปไตย-ฝ่ายเผด็จการ’ ‘คนรุ่นเก่า-รุ่นใหม่’: ขั้วความขัดแย้งในการเมืองไทยหลังคสช.

จันจิรา สมบัติพูนศิริ ตั้งข้อสังเกตถึงการสร้าง ‘ความปรองดองแบบคสช.’ ที่ไม่ได้ช่วยสลายความขัดแย้ง แต่ได้เปลี่ยนรูปร่างหน้าตาขั้วความขัดแย้ง ‘เสื้อเหลือง-เสื้อแดง’ ให้แบ่งฝ่ายความขัดแย้งใหม่เป็น ‘คนรุ่นเก่า-คนรุ่นใหม่’ อันมีใจความอยู่ที่โลกทัศน์มากกว่าเรื่องอายุ

จันจิรา สมบัติพูนศิริ

11 Mar 2019

Spotlights

4 Dec 2018

‘Why We Post’ เข้าใจโลกโซเชียลแบบนักมานุษยวิทยา กับแดเนียล มิลเลอร์

สมคิด พุทธศรี ชวน ‘แดเนียล มิลเลอร์’ สำรวจบทบาทและอิทธิพลของโซเชียลมีเดียในชีวิตประจำวันของผู้คนผ่านแว่นตาของนักมานุษยวิทยาดิจิทัล

สมคิด พุทธศรี

4 Dec 2018

World

6 Jul 2018

ศาลสูงสุดสหรัฐฯ กำลังเปลี่ยนขั้ว?

อาร์ม ตั้งนิรันดร วิเคราะห์ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นต่อสิทธิและเสรีภาพของผู้คนและแนวทางการต่อสู้ทางการเมืองแบบใหม่ ถ้าหากศาลสูงสุดของสหรัฐฯ กลายเป็นอนุรักษนิยมเต็มตัว

อาร์ม ตั้งนิรันดร

6 Jul 2018

Global Affairs

18 Aug 2017

อ่านห้วงเวลาแบบคิสซินเจอร์

ศุภมิตร ปิติพัฒน์ ชวนอ่านห้วงเวลาแบบคิสซินเจอร์ (Kissingerian Moment) ห้วงเวลาที่เกิด
The Conservative Dilemma เมื่อสังคมการเมืองเกิดพลังก่อตัวขึ้นมาท้าทายและเรียกร้องการปฏิวัติเพื่อเปลี่ยนแปลงสังคมจากระบอบเดิม แต่ฝ่ายอนุรักษนิยมแทบไม่มีทางเลือกในการกลับคืนสู่เวลาของเสถียรภาพและความสงบเรียบร้อยเป็นปกติธรรมดา แล้วทางออกอยู่ตรงไหน?

ศุภมิตร ปิติพัฒน์

18 Aug 2017
1 2

RECOMMENDED

Social Issues

17 Feb 2017

อ่านข่าวออนไลน์จากสำนักไหน ใครจำได้บ้าง

แน่นอน คนเราอ่านข่าวออนไลน์กันมากขึ้น แต่เราจำได้หรือเปล่าว่าข่าวไหนมาจากสำนักไหน ใครวิเคราะห์อะไรบ้าง ได้ตามข่าวไหนต่อเป็นพิเศษหรือเปล่า วิธีอ่านข่าวออนไลน์ของเราเป็นอย่างไร

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Social Issues

17 Feb 2017

น้ำแข็งขั้วโลกหดตัวต่ำสุดในประวัติศาสตร์ ไม่ใช่แค่ขั้วเดียว-แต่ทั้งสองขั้วเลย!

ขั้วโลกเหนือเป็นฤดูหนาว ขั้วโลกใต้เป็นฤดูร้อน แต่ที่เหมือนกันก็คือ ไม่ว่าจะหนาวจะร้อน ทั้งสองขั้วโลกต่างมีอาการ ‘น้ำแข็งหดตัว’ จนเกิดสถิติใหม่อย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อนด้วยกันทั้งคู่!

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Life & Culture

20 Feb 2017

พื้นที่สาธารณะ พื้นที่ของใครกันแน่?

ดัชนีชี้วัดความสุขประชากรในเมืองขึ้นอยู่กับอะไรบ้าง ห้างสวยแอร์เย็น รถไฟฟ้าไร้โฆษณา หรือจริงๆ มนุษย์เมืองล้วนต้องการพื้นที่สาธารณะที่เป็น ‘สาธารณะ’ จริงๆ

เทพพิทักษ์ มณีพงษ์

20 Feb 2017

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save