จากผนังทองแดงกำแพงเหล็ก สู่ผนังทองคำกำแพงแพลทินัม ความสำเร็จดิสรัปต์พรรคทักษิณ
ในห้วงการเปลี่ยนผ่านนายกฯ ของพรรคเพื่อไทย ประทีป คงสิบชวนย้อนมองหนึ่งปีแห่งความล้มเหลวของรัฐบาลเศรษฐาและหนึ่งปีแห่งความสำเร็จดิสรัปต์พรรคทักษิณ
ในห้วงการเปลี่ยนผ่านนายกฯ ของพรรคเพื่อไทย ประทีป คงสิบชวนย้อนมองหนึ่งปีแห่งความล้มเหลวของรัฐบาลเศรษฐาและหนึ่งปีแห่งความสำเร็จดิสรัปต์พรรคทักษิณ
101 สนทนากับ รัดเกล้า สุวรรณคีรี ในบทบาทรองโฆษกรัฐบาล ถึงการทำงานที่ผ่านมา ตลอดจนไขข้อกังขาที่ว่าเธอทำงานใน ‘รัฐบาลข้ามขั้ว’
101 สนทนากับ ศ.สรวิศ ชัยนาม ผู้เขียน ‘เพราะเราต่างขาดพร่อง: การเมืองเรื่องเอนจอยเมนต์’ ถึงเรื่องเอนจอยเมนต์ทางการเมืองของฝ่ายซ้ายและขวา รวมถึงชวนวิเคราะห์การเมืองข้ามขั้วและการต่อสู้กับชาตินิยมในสังคมไทย
ประทีป คงสิบ ชวนตรวจสถานการณ์แนวรบเพื่อไทย-ก้าวไกล เปรียบเป็นคู่ชกที่ต่อยไม่ครบยก แล้วกรรมการให้ยุติการแข่งขันอย่างค้านสายตา
101 ชวน ศาสตราจารย์เกษียร เตชะพีระ มองภาพสะท้อนสังคมไทยผ่านการเลือกตั้งและปัจจัยที่ทำให้สังคมไทยมองหาคำตอบใหม่ๆ มาเป็นทางออกจากปัญหาที่เรื้อรังยาวนาน
101 ชวนคุณย้อนอ่านฉากทัศน์การเลือกตั้ง และโจทย์สังคม เศรษฐกิจ การเมืองไทยสำหรับรัฐบาลใหม่ในอนาคต โดยรศ.ดร.พวงทอง ภวัครพันธุ์ และ ผศ.ดร.พิชญ์ พงษ์สวัสดิ์
กษิดิศ อนันทนาธร เล่าถึงประสบการณ์ ‘ตาสว่าง’ ของสุลักษณ์ ศิวรักษ์ ปัญญาชนสายอนุรักษนิยม ที่เปลี่ยนความเกลียดชังต่อตัวปรีดี พนมยงค์ เป็นความเคารพนับถือ
สมชาย ปรีชาศิลปกุล มองความเป็นไปได้ถึงแนวทางที่ชนชั้นนำไทยจะโต้ตอบ หากพรรคการเมืองที่สนับสนุนแนวทางอนุรักษนิยม/อำนาจนิยม พ่ายในการเลือกตั้งครั้งนี้
ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ เล่าเบื้องหลัง ‘มหาภารตะ’ ฉบับอเมริกัน ท่ามกลางความแตกแยกในพรรครีพับลิกันคู่ขนานไปกับความแตกแยกระดับประเทศ ระหว่างฝ่ายเสรีนิยมกับฝ่ายขวาสุดขั้วและเชื้อชาตินิยมผิวขาว
ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ เปรียบเทียบปัจจัยการใช้ความรุนแรงต่อผู้เห็นต่างทางการเมืองระหว่างไทยและอเมริกา
ชวนทำความรู้จัก ม.ร.ว. ปาณฑิตย์ โสณกุล ลูกชายคนเดียวของพระองค์เจ้าธานีฯ ผู้มีฝีปากจัดจ้านและรักการลับคมทางความคิด
ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ วิเคราะห์ที่มาที่ไปก่อนที่ศาลสูงสุดสหรัฐฯ จะคว่ำคำพิพากษาคดีปัญหาการทำแท้งประวัติศาสตร์ (Roe v. Wade) ท่ามกลางการต่อสู้ยาวนานของฝ่าย pro-choice และฝ่าย pro-life และเกมการหาเสียงสนับสนุนทางการเมือง
จากกรณีสงครามที่ยูเครน อายุษ ประทีป ณ ถลาง ชวนมองนิยามคำว่า ‘ชาติ’ ของชาวยูเครน ก่อนย้อนมามองความหมายของคำนี้ในบริบทสังคมไทย
แมท ช่างสุพรรณ สำรวจวิวัฒนาการของนิยามความเป็น ‘คนดี’ ‘ผู้ดี’ ‘ผู้มีมารยาทงาม’ ตามแบบอนุรักษนิยมผ่านหนังสือ A History of Manners and Civility in Thailand ของ Patrick Jory
อติเทพ ไชยสิทธิ์ เขียนถึงเรื่องราวความรักต้องห้ามระหว่างครูสาวและนักเรียนหนุ่มที่เกิดขึ้นท่ามกลางการต่อสู้กับระบอบอำนาจนิยมและอนุรักษนิยมในฝรั่งเศส
ระบบ Recommend จะคัดสรรบทความและสื่อสร้างสรรค์ต่างๆ ที่คุณสนใจ มาให้คุณเลือกในหน้าโปรไฟล์ส่วนตัวของคุณ ให้คุณไม่พลาดทุกเนื้อหาที่คัดมาสำหรับคุณโดยเฉพาะ
คุณสามารถบันทึกบทความแบบ Read Later โดยคลิกที่ปุ่ม Bookmark Icon หรือจะเก็บบทความที่ชื่นชอบเป็นการส่วนตัวไว้ในหมวด Favorite โดยคลิกที่ปุ่ม Favorite Icon เพื่อกลับมาอ่านในภายหลัง
เพียงคุณลงชื่อเข้าใช้ ระบบจะจดจำตัวเลือกฟอนต์และธีมสีที่คุณเคยเลือก ให้คุณอ่านและรับชมทุกเนื้อหาอย่างเต็มที่ สบายตาและเพลิดเพลินใจในแบบที่เหมาะกับคุณ ไม่ว่าจะใช้งานบนคอมพิวเตอร์ แท็บเล็ต หรือสมาร์ตโฟน
เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า