เรื่องของนิ่ม เยาวชน และคนที่ถูกทอดทิ้งจากระบบ: เมื่อไม่ใช่ทุกคนจะเข้าถึงบริการสุขภาพจิตได้
ชวนสำรวจ ‘ปัญหาสุขภาพจิต’ ของไทย อีกหนึ่งปัญหาที่สะท้อนความเหลื่อมล้ำในการเข้าถึงระบบสาธารณสุข

ชวนสำรวจ ‘ปัญหาสุขภาพจิต’ ของไทย อีกหนึ่งปัญหาที่สะท้อนความเหลื่อมล้ำในการเข้าถึงระบบสาธารณสุข
101 In Focus คุยกันเรื่องระบบบริการสุขภาพจิตของไทย ชวนตั้งคำถามและหาคำตอบว่า ปัญหาโรคซึมเศร้าไทยรุนแรงแค่ไหน กระทบต่อเยาวชนอย่างไร เราขาดแคลนบุคลากรแค่ไหน และระบบบริการสุขภาพจิตที่ดีควรเป็นอย่างไร
ชวนตั้งคำถามและหาคำตอบ ทำไมผู้ป่วยซึมเศร้าไทยจึงไม่นับรวมเด็กอายุต่ำกว่า 15? ทำไมถึงมีผู้ป่วยเข้าถึงบริการเกิน 100%? แผนสุขภาพจิตตามยุทธศาสตร์ 20 ปีตอบโจทย์แล้วหรือยัง? การเพิ่มจิตแพทย์จะช่วยแก้ปัญหาได้จริงหรือไม่? ระบบบริการสุขภาพจิตที่ดีควรเป็นอย่างไร?
คิด for คิดส์ ชวนฟังเสียงของคนทำงานจิตเวชด่านหน้าที่ต้องแบกรับภาระงานรอบด้าน ภายใต้แรงกดดันของ ‘ตัวชี้วัด’ ในบริบทพื้นที่ห่างไกล ซึ่งย้อนกลับมาสร้างปัญหาให้กับการกระจายบุคลากรด้านจิตเวชที่ขาดแคลนอยู่แล้ว
คิด for คิดส์ ชวนทบทวนตัวเลข เครื่องมือ และสถิติด้านจิตเวชที่ยังต้องปรับปรุงให้ ‘มองเห็น’ ปัญหาสุขภาพใจของคนไทยอย่างครบถ้วนยิ่งขึ้น
สำหรับเด็กและวัยรุ่นในหลายจังหวัด การเข้าถึงบริการทางจิตเวชโดยแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ ยังคงเป็นเรื่องที่อยู่ไกลเกินเอื้อม คิด for คิดส์ ชวนสำรวจสถานการณ์สุขภาพใจเด็กและเยาวชนไทยผ่านมิติเชิงพื้นที่ของการให้บริการด้านจิตเวชในหนึ่งแผนที่
.
Thailand Policy Lab จัดกิจกรรมให้เยาวชนมาร่วมกันระดมสมองและคิดนโยบายเพื่อแก้ไขปัญหา ‘สุขภาพจิต’ อันเป็นปัญหาที่เยาวชนไทยจำนวนมากกำลังเผชิญ
101 คุยกับศรีอรุณ ธนะรัชติการนนท์ ผู้อำนวยการสมาคมสะมาริตันส์แห่งประเทศไทย สายด่วนป้องกันการฆ่าตัวตาย, ดร.ธนิสา ทวิชศรี นักวิจัยสถาบันวิจัยเศรษฐกิจป๋วย อึ๊งภากรณ์ ผู้ทำวิจัยเรื่องปัญหาสุขภาพจิตในช่วงโควิด และธันยะมัย ชูอิฐจีน เพื่อนของผู้เลือกจบชีวิตในช่วงโควิด เพื่อฉายภาพสุขภาพจิตคนไทยในยุคโควิด
ปรีห์กมล จันทรนิจกร ชวนไปรู้จักกับ ‘ละครบำบัด’ การใช้ศาสตร์การละครเป็นหนึ่งในเครื่องมือบำบัดรักษาสุขภาพใจ
นิติ ภวัครพันธุ์ ชวนทบทวนเรื่องการฆ่าตัวตายที่เกี่ยวข้องกับการระบาดของโควิด 19 ผ่านกรณีศึกษาและเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในบางประเทศ และย้อนกลับมาตั้งคำถามต่อสังคมไทยและรัฐ ว่าการฆ่าตัวตายเป็นความรับผิดชอบของส่วนรวมที่จะต้องใส่ใจอย่างจริงจังไม่ใช่หรือ?
101 สนทนากับ ธนกฤษ ลิขิตธรากุล ถึงสถานการณ์สุขภาพจิตของคนไทย ทำความเข้าใจประเด็นด้านสุขภาพจิตบางอย่างที่อาจถูกละเลยหรือเข้าใจผิด รวมถึงวิธีประคับประคองจิตใจของตนเองและคนรอบข้าง
101 ชวนทำความรู้จักโลกของวัยรุ่น ผ่านผลงาน Spotlight ชุด We are youngster: เพราะเจ็บจัดๆ เลยแสบสุดๆ
101 สนทนากับวัยรุ่นจำนวนหนึ่งถึงบาดแผลทางใจที่พวกเขาเผชิญและยังจดจำ พร้อมมุมมองจาก นรพันธ์ ทองเชื่อม นักจิตวิทยาเด็กและวัยรุ่นจากมีรักคลินิก ที่จะช่วยฉายภาพปัญหาอันซับซ้อนของวัยรุ่น เรื่องอะไรที่พวกเขากังวลใจและอาจส่งผลให้เกิดปัญหาสุขภาพจิต แล้วคนรอบข้าง ไม่ว่าจะเป็นผู้ปกครอง ญาติ หรือแม้กระทั่งครู จะสามารถโอบอุ้มพวกเขาไว้ได้อย่างไร
ศุภาวรรณ คงสุวรรณ์ สนทนา กับ นพ.กานต์ จํารูญโรจน์ ภาควิชาจิตเวชศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี ว่าด้วยปัญหาสุขภาพจิตในยุคโควิด-19
101 สนทนากับ นพ.กานต์ จํารูญโรจน์ ภาควิชาจิตเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล ว่าด้วยปัญหาสุขภาพจิตในวิกฤตโควิด-19
ระบบ Recommend จะคัดสรรบทความและสื่อสร้างสรรค์ต่างๆ ที่คุณสนใจ มาให้คุณเลือกในหน้าโปรไฟล์ส่วนตัวของคุณ ให้คุณไม่พลาดทุกเนื้อหาที่คัดมาสำหรับคุณโดยเฉพาะ
คุณสามารถบันทึกบทความแบบ Read Later โดยคลิกที่ปุ่ม Bookmark Icon หรือจะเก็บบทความที่ชื่นชอบเป็นการส่วนตัวไว้ในหมวด Favorite โดยคลิกที่ปุ่ม Favorite Icon เพื่อกลับมาอ่านในภายหลัง
เพียงคุณลงชื่อเข้าใช้ ระบบจะจดจำตัวเลือกฟอนต์และธีมสีที่คุณเคยเลือก ให้คุณอ่านและรับชมทุกเนื้อหาอย่างเต็มที่ สบายตาและเพลิดเพลินใจในแบบที่เหมาะกับคุณ ไม่ว่าจะใช้งานบนคอมพิวเตอร์ แท็บเล็ต หรือสมาร์ตโฟน
เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า