fbpx

Sustainability

15 Apr 2020

ฟื้นเศรษฐกิจด้วยการปกป้องสิ่งแวดล้อม (Green Stimulus) ทางรอดของโลกยุคหลัง COVID-19

เพชร มโนปวิตร เขียนถึงทางรอดในยุคหลังโควิด-19 ด้วยการปกป้องสิ่งแวดล้อม ซึ่งนอกจากจะฟื้นเศรษฐกิจแล้ว ยังช่วยฟื้นฟูโลกได้อีกด้วย

เพชร มโนปวิตร

15 Apr 2020

Thai Politics

30 Mar 2020

จักรวาล การเมือง และความเถื่อน ของวรรณสิงห์ ประเสริฐกุล

ชวนวรรณสิงห์มาพูดคุยว่าด้วยเรื่องสังคมโลกและการเมืองไทย รัฐธรรมนูญที่เราควรมีควรเป็นอย่างไร รวมถึงเรื่องสิ่งแวดล้อมที่เขากำลังสนใจจริงจัง

ปาณิส โพธิ์ศรีวังชัย

30 Mar 2020

Thai Politics

30 Mar 2020

สรณรัชฎ์ กาญจนะวณิชย์ : วันที่โลกนับถอยหลัง รัฐธรรมนูญต้องไม่เบียดเบียนสิ่งแวดล้อม

ศุภาวรรณ คงสุวรรณ์ สนทนากับ สรณรัชฎ์ กาญจนะวณิชย์ ประธานกรรมการมูลนิธิโลกสีเขียว ว่าด้วยสถานการณ์สิ่งแวดล้อมในยุคการสูญพันธ์ุครั้งใหญ่ กับรัฐธรรมนูญบนหลักการที่ต้องไม่เบียดเบียนธรรมชาติ และมุ่งสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน

ศุภาวรรณ คงสุวรรณ์

30 Mar 2020

Sustainability

12 Feb 2020

เปิดเส้นทางลดโลกร้อน : จากป่าชุมชนสู่เศรษฐกิจฐานชีวภาพ

เวทีสนทนาว่าด้วยการจัดการป่าจากมุมมองนักวิชาการ สื่อมวลชน กลุ่มชาติพันธุ์ ภาครัฐ และภาคธุรกิจ เพื่อหาทางลดโลกร้อน

กองบรรณาธิการ

12 Feb 2020

Issue of the Age

30 Jan 2020

วิกฤตโรคอุบัติใหม่กับการค้าสัตว์ป่า

เพชร มโนปวิตร เขียนถึงการค้าสัตว์ป่าในจีนและหลายพื้นที่ในโลกที่ทำให้เกิดโรคอุบัติใหม่ ซึ่งล้วนเป็นโรคที่ติดต่อจากสัตว์สู่คน วิกฤตครั้งนี้มนุษย์ควรรับมืออย่างไร

เพชร มโนปวิตร

30 Jan 2020

Sustainability

29 Jan 2020

เศรษฐศาสตร์การเมืองเรื่องฝุ่น PM 2.5 กับ วิษณุ อรรถวานิช

ทรรศนะบางส่วนของ วิษณุ อรรถวานิช ถึงปัญหา PM 2.5 เมื่อใช้หลักเศรษฐศาสตร์ประเมินต้นทุนมลพิษทางอากาศของสังคมไทย

กองบรรณาธิการ

29 Jan 2020

Trends

16 Jan 2020

โลกร้อนอาจทำให้เราโง่ลง: เมื่อคาร์บอนไดออกไซด์ส่งผลกับสมอง

คอลัมน์ Trend Rider สัปดาห์นี้ โตมร ศุขปรีชา ชวนสำรวจปริมาณคาร์บอนไดออกไซด์บนโลกทั้งในอาคารและนอกอาคาร อากาศแย่อาจส่งผลกับสมองเรามากกว่าที่คิด

โตมร ศุขปรีชา

16 Jan 2020

Sustainability

14 Jan 2020

เมื่อแอปฯ ส่งอาหารกำลังเปลี่ยนวิถีบริโภคของมนุษย์ (และโลกของเราด้วยเช่นกัน)

โสภณ ศุภมั่งมี เขียนถึงปริมาณขยะมหาศาลที่เกิดจากการบริโภคแบบเดลิเวอรี เราจะแก้ไขปัญหาอย่างไร และบริษัทไหนหาทางแก้ปัญหาไปแล้วบ้าง

โสภณ ศุภมั่งมี

14 Jan 2020

Sustainability

8 Jan 2020

เมื่อขีดจำกัดความปลอดภัยของโลกเกินเยียวยา

วันชัย ตันติวิทยาพิทักษ์ เขียนถึงปัญหาสิ่งแวดล้อมที่ร้ายแรงที่สุด ซึ่งไม่ใช่เรื่องการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศอย่างที่ทุกคนคิด แต่คือการสูญพันธุ์ครั้งใหญ่ของสิ่งมีชีวิต

วันชัย ตันติวิทยาพิทักษ์

8 Jan 2020

Sustainability

11 Dec 2019

ไม่มีใครควรเป็นเจ้าของแม่น้ำเพียงผู้เดียว : เขื่อนไซยะบุรี หายนะของแม่น้ำโขง ?

ปาณิส โพธิ์ศรีวังชัย สรุปความจากงานเรื่อง Sustainable Banking กรณีศึกษาโครงการโรงไฟฟ้าพลังน้ำไซยะบุรี ว่าด้วยผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและชุมชนริมแม่น้ำโขง

ปาณิส โพธิ์ศรีวังชัย

11 Dec 2019

Media

6 Dec 2019

101 In Focus EP.19 : Climate Change – เราเปลี่ยน โลกเปลี่ยน

การเปลี่ยนแปลงทางภูมิอากาศ ส่งผลใหญ่หลวงต่อมวลมนุษยชาติ 101 in focus ตอนใหม่ ชวนผู้ฟังมารู้จัก ‘ภัย’ ที่เกิดขึ้นแล้ว และชวนตระหนักถึงความเปลี่ยนแปลงครั้งสำคัญของโลก

กองบรรณาธิการ

6 Dec 2019

Videos

13 Aug 2019

SIDE B อีกเสียงจากที่เขาบอกว่า… “เขื่อนไม่ได้สร้างปัญหา”

101 ชวนชมสถานการณ์แม่น้ำโขง ผ่านสารคดีข่าวสั้น ‘SIDE B’ อีกเสียงจากที่เขาบอกว่า… “เขื่อนไม่ได้สร้างปัญหา…”

ธิติ มีแต้ม

13 Aug 2019

Sustainability

4 Jun 2019

เมื่ออาหารที่ดีต่อสุขภาพไม่อาจเกิดขึ้นได้บนฐานการผลิตที่ทำลายสุขภาพ A Circular Economy for Food

กรณิศ ตันอังสนากุล เขียนถึงการปฏิวัติระบบอาหารในโลกอนาคต เมื่อสิ่งที่ควรกังวลอาจไม่ใช่ว่าอาหารจะหมดโลก แต่ระบบการผลิตอาหารอาจมีส่วนในการทำลายโลกต่างหาก

กรณิศ ตันอังสนากุล

4 Jun 2019
1 2 3 4 6

RECOMMENDED

Social Issues

17 Feb 2017

อ่านข่าวออนไลน์จากสำนักไหน ใครจำได้บ้าง

แน่นอน คนเราอ่านข่าวออนไลน์กันมากขึ้น แต่เราจำได้หรือเปล่าว่าข่าวไหนมาจากสำนักไหน ใครวิเคราะห์อะไรบ้าง ได้ตามข่าวไหนต่อเป็นพิเศษหรือเปล่า วิธีอ่านข่าวออนไลน์ของเราเป็นอย่างไร

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Social Issues

17 Feb 2017

น้ำแข็งขั้วโลกหดตัวต่ำสุดในประวัติศาสตร์ ไม่ใช่แค่ขั้วเดียว-แต่ทั้งสองขั้วเลย!

ขั้วโลกเหนือเป็นฤดูหนาว ขั้วโลกใต้เป็นฤดูร้อน แต่ที่เหมือนกันก็คือ ไม่ว่าจะหนาวจะร้อน ทั้งสองขั้วโลกต่างมีอาการ ‘น้ำแข็งหดตัว’ จนเกิดสถิติใหม่อย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อนด้วยกันทั้งคู่!

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Life & Culture

20 Feb 2017

พื้นที่สาธารณะ พื้นที่ของใครกันแน่?

ดัชนีชี้วัดความสุขประชากรในเมืองขึ้นอยู่กับอะไรบ้าง ห้างสวยแอร์เย็น รถไฟฟ้าไร้โฆษณา หรือจริงๆ มนุษย์เมืองล้วนต้องการพื้นที่สาธารณะที่เป็น ‘สาธารณะ’ จริงๆ

เทพพิทักษ์ มณีพงษ์

20 Feb 2017

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save