fbpx

Thai Politics

28 Oct 2019

รจเรข วัฒนพาณิชย์ : จากชั่วโมงมืดมิดในค่ายทหาร สู่วันที่ Book Re:public ย้ายกลับบ้าน

คุยกับ รจเรข วัฒนพาณิชย์ แห่ง ‘Book Re:public’ ไล่เรียงตั้งแต่ประสบการณ์หดหู่ในค่ายทหาร มุมมองต่อการทำงานเคลื่อนไหวของภาคประชาสังคมหลังรัฐประหาร การทำงานกับเยาวชนคนรุ่นใหม่ และความหวังที่เธอมีต่อสังคมไทยในฐานะ ‘คนรักชาติ’ คนหนึ่ง

พันธวัฒน์ เศรษฐวิไล

28 Oct 2019

Justice & Human Rights

23 Oct 2019

‘กรรมวิธีและการลงทัณฑ์’ ความเป็นธรรมของการใช้โทษประหารใน ‘ประเทศยกเว้น’

วจนา วรรลยางกูร เขียนถึงความเป็นธรรมของการใช้โทษประหารจากการมองปัญหาที่เกิดขึ้นในแวดวงความยุติธรรมซึ่งมีการใช้กฎหมายพิเศษและสามารถเกิดข้อผิดพลาดได้ไม่ว่าระบบนั้นจะรัดกุมเพียงใด

วจนา วรรลยางกูร

23 Oct 2019

Justice & Human Rights

15 Oct 2019

Investigative Interviewing : ความก้าวหน้าของไทยกับทางเลือกใหม่ในการสอบปากคำ

สำรวจความก้าวหน้าและความท้าทายของกระบวนการสืบสวนสอบสวนไทยกับการประยุกต์ใช้แนวทาง ‘Investigative Interview’ เพื่อป้องกันการละเมิดสิทธิมนุษยชนผู้ต้องสงสัยหรือผู้ต้องหาในคดีอาชญากรรม

ภาวรรณ ธนาเลิศสมบูรณ์

15 Oct 2019

Justice & Human Rights

14 Oct 2019

Investigative Interviewing : ‘คุยกันฉันมิตร’ แนวคิดใหม่ในการสอบปากคำ

ทำความรู้จักกระบวนการสืบสวนสอบสวนรูปแบบใหม่ ‘Investigative Interviewing’ ที่ช่วยพิทักษ์สิทธิมนุษยชนและปกป้องผู้ต้องสงสัยหรือผู้ต้องหาจากการถูกทรมานทุกรูปแบบ

ภาวรรณ ธนาเลิศสมบูรณ์

14 Oct 2019

Justice & Human Rights

27 Sep 2019

ประเทศไร้ใบหน้า ผู้คนไร้แผ่นดิน ตามหาความเป็นมนุษย์ในคำว่า ‘ชาติ’

วจนา วรรลยางกูร ชวนมองปัญหาผู้ลี้ภัยที่เกี่ยวข้องกับประเทศไทยผ่านหลากตัวละคร อันสะท้อนความบกพร่องของรัฐไทยที่ยังไม่ให้ความสำคัญต่อคุณค่าความเป็นมนุษย์อย่างเพียงพอ

วจนา วรรลยางกูร

27 Sep 2019

Talk Programmes

4 Sep 2019

101 One-On-One EP.86  “ตัวตน ความคิด และชีวิตม่วนๆ” ของ ไผ่ ดาวดิน

ชวน ไผ่ ดาวดิน หรือ จตุภัทร์ บุญภัทรรักษา นักสิทธิมนุษยชน นักเคลื่อนไหว มาคุย ‘ม่วนๆ’ ในสไตล์ลูกอีสาน ตัวตนของเขาเป็นอย่างไร เพลงที่ฟัง-หนังที่ดูเป็นแบบไหน หลังออกจากเรือนจำเขาทำอะไรอยู่ มีความฝัน-ความหวังอย่างไรกับชีวิต บ้านนี้เมืองนี้ในสายตาของเขาเป็นแบบไหน และจะก้าวเดินไปทางไหนต่อ

101 One-on-One

4 Sep 2019

Thai Politics

26 Aug 2019

‘แด่สันติสุขและความมั่นคง’ ชายแดนใต้กับการแก้ปัญหาที่ไม่พูดถึงสาเหตุ

วจนา วรรลยางกูร เรียบเรียงการพูดคุยจากวงเสวนา ‘สันติภาพจังหวัดชายแดนใต้ (จชต.): โอกาสการขยายตัวของความรุนแรงและบทบาทคนนอก’ อันสะท้อนภาพรวมกระบวนการพูดคุยสันติภาพที่ดำเนินอย่างเชื่องช้าจากแง่มุมต่างๆ

วจนา วรรลยางกูร

26 Aug 2019

Thai Politics

24 Jul 2019

“ผมเป็นพวกสากลนิยม” จรัล ดิษฐาอภิชัย จากกรรมการสิทธิฯ สู่ชีวิตลี้ภัยการเมือง

วจนา วรรลยางกูร พูดคุยกับ จรัล ดิษฐาอภิชัย อดีต กสม. และอดีตแกนนำ นปช. ถึงชีวิต 5 ปีในฐานะผู้ลี้ภัยทางการเมืองบนแผ่นดินฝรั่งเศส และความใฝ่ฝันถึง ‘สังคมอุดมคติ’

วจนา วรรลยางกูร

24 Jul 2019

Thai Politics

17 Jul 2019

มหากาพย์คนไร้สัญชาติ ข้ามให้พ้นคำถาม “คนไทยหรือเปล่า” : สุรพงษ์ กองจันทึก

ฟัง ‘สุรพงษ์ กองจันทึก’ ประธานมูลนิธิผสานวัฒนธรรมเล่าปัญหาคนไร้สัญชาติที่เรื้อรังเนิ่นนานมาหลายทศวรรษ ท่ามกลางความมั่นคงที่เดินนำหน้าสิทธิมนุษยชน

ธิติ มีแต้ม

17 Jul 2019

Talk Programmes

4 Jul 2019

101 one on one Ep.77 “สันติวิธีหายไปไหน?” กับ เอกพันธุ์ ปิณฑวณิช

จากกรณีทำร้ายร่างกายนักกิจกรรมและผู้เห็นต่างทางการเมือง ถึงปัญหาความรุนแรงไม่รู้จบในจังหวัดชายแดนใต้
สันติวิธียังมีน้ำยาอยู่ไหมในสังคมไทย และทำอย่างไรให้สันติวิธีมีพลัง

101 One-on-One

4 Jul 2019

World

1 Jul 2019

ความเป็นพลเมืองในลาตินอเมริกา

เชาวฤทธิ์ เชาว์แสงรัตน์ เขียนถึงเรื่องการเป็นพลเมืองในสังคมลาตินอเมริกา ที่ถึงแม้ว่ากำลังอยู่ในช่วงเปลี่ยนผ่านให้เข้ากับระบอบประชาธิปไตย แต่ก็ไม่มีใครหน้าไหนลุกขึ้นมาชี้หน้าไล่คนอื่นออกจากการเป็นพลเมืองของประเทศได้

เชาวฤทธิ์ เชาว์แสงรัตน์

1 Jul 2019

Justice & Human Rights

20 Jun 2019

“ถ้าเลือกได้จะไม่เกิดมาเป็นผู้ลี้ภัย” พอแสนโซ บรี

วจนา วรรลยางกูร คุยกับ พอแสนโซ บรี ถึงชีวิต 13 ปีในแคมป์ผู้ลี้ภัยที่ไร้อนาคต ก่อนเธอจะไปเริ่มชีวิตใหม่ที่อเมริกาและต่อสู้กับการถูกเลือกปฏิบัติ

วจนา วรรลยางกูร

20 Jun 2019

Thai Politics

11 Jun 2019

“พลเอกประยุทธ์ ครับ” / “พลเอกประยุทธ์ ค่ะ” คำถามจากชายแดนใต้ เมื่อพิราบเลือกเหยี่ยว

การโหวตเลือก พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา เป็นนายกรัฐมนตรี โดย ส.ส. และ ส.ว. ที่เคยทำงานด้านสิทธิมนุษยชนและสันติวิธีในพื้นที่ชายแดนใต้มายาวนาน สะท้อนภาพการเมืองเรื่องชายแดนใต้อย่างไร ปรัชญเกียรติ ว่าโร๊ะ ตั้งคำถามถึงสันติภาพในชายแดนภาคใต้ เมื่อ ‘พิราบ’ เลือก ‘เหยี่ยว’

กองบรรณาธิการ

11 Jun 2019

Interviews

4 Jun 2019

ผู้ลี้ภัยไม่มีสี : คุยกับ ‘กัณวีร์ สืบแสง’ อดีตหัวหน้าสำนักงานภาคสนาม ซูดานใต้ UNHCR

ประสบการณ์ช่วยเหลือผู้ลี้ภัยจากซูดานใต้กว่า 5 ปีของ ‘กัณวีร์ สืบแสง’ ช่วยให้สังคมไทยเปิดรับทำความเข้าใจสิทธิมนุษยชนมากขึ้นได้อย่างไร

ธิติ มีแต้ม

4 Jun 2019

Interviews

20 May 2019

“สิทธิมนุษยชนเป็นงานที่ไม่มีวันหยุด” พรเพ็ญ คงขจรเกียรติ

คุยกับ พรเพ็ญ คงขจรเกียรติ นักสิทธิมนุษยชนที่ฝ่ายความมั่นคงหงุดหงิดรำคาญใจเวลาพูดเรื่องการซ้อมทรมาน อุ้มหาย และการหว่านตรวจดีเอ็นเอ

ธิติ มีแต้ม

20 May 2019
1 5 6 7 8

RECOMMENDED

Social Issues

17 Feb 2017

อ่านข่าวออนไลน์จากสำนักไหน ใครจำได้บ้าง

แน่นอน คนเราอ่านข่าวออนไลน์กันมากขึ้น แต่เราจำได้หรือเปล่าว่าข่าวไหนมาจากสำนักไหน ใครวิเคราะห์อะไรบ้าง ได้ตามข่าวไหนต่อเป็นพิเศษหรือเปล่า วิธีอ่านข่าวออนไลน์ของเราเป็นอย่างไร

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Social Issues

17 Feb 2017

น้ำแข็งขั้วโลกหดตัวต่ำสุดในประวัติศาสตร์ ไม่ใช่แค่ขั้วเดียว-แต่ทั้งสองขั้วเลย!

ขั้วโลกเหนือเป็นฤดูหนาว ขั้วโลกใต้เป็นฤดูร้อน แต่ที่เหมือนกันก็คือ ไม่ว่าจะหนาวจะร้อน ทั้งสองขั้วโลกต่างมีอาการ ‘น้ำแข็งหดตัว’ จนเกิดสถิติใหม่อย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อนด้วยกันทั้งคู่!

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Life & Culture

20 Feb 2017

พื้นที่สาธารณะ พื้นที่ของใครกันแน่?

ดัชนีชี้วัดความสุขประชากรในเมืองขึ้นอยู่กับอะไรบ้าง ห้างสวยแอร์เย็น รถไฟฟ้าไร้โฆษณา หรือจริงๆ มนุษย์เมืองล้วนต้องการพื้นที่สาธารณะที่เป็น ‘สาธารณะ’ จริงๆ

เทพพิทักษ์ มณีพงษ์

20 Feb 2017

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save