fbpx

US

18 Jun 2020

เปิดใต้พรมอเมริกา-ไทย: จากคนดำถึงห้องเรียน

ถ้าความตายของจอร์จ ฟลอยด์ เสมือนการกระชากพรมผืนใหญ่ออกให้เห็นสิ่งที่ถูกซุกซ่อนอยู่ภายใน เรากำลังเจอปัญหาอะไร โลกกำลังบอกอะไร

ธิติ มีแต้ม

18 Jun 2020

Law

22 May 2020

สุขภาพ vs. เสรีภาพ สำรวจสิทธิคนไทย ยุคโควิด-19 กับ ศิริกาญจน์ เจริญศิริ

101 พูดคุยกับ ศิริกาญจน์ เจริญศิริ ถึงสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในยุคโควิด-19 ทั้งในไทยและต่างประเทศ

วจนา วรรลยางกูร

22 May 2020

Law

20 May 2020

Immediacy: สิทธิในกระบวนการยุติธรรมทางอาญา (ที่หายไป)

ปกป้อง ศรีสนิท เขียนถึง หลักผู้พิพากษาต้องสัมผัสพยาน ซึ่งถูกรับรองว่าเป็นส่วนหนึ่งของสิทธิมนุษยชน แต่เป็นสิ่งที่หายไปจากกระบวนการยุติธรรมไทย

ปกป้อง ศรีสนิท

20 May 2020

Thai Politics

19 May 2020

ณัฐวุฒิ ใสยเกื้อ: หนึ่งทศวรรษความตายแปลกหน้าในประวัติศาสตร์ไร้เสียง

วจนา วรรลยางกูร พูดคุยกับ ณัฐวุฒิ ใสยเกื้อ แกนนำนปช. หลังการปราบปรามการชุมนุมเสื้อแดงผ่านมา 10 ปี แต่ผู้เสียชีวิตยังเข้าไม่ถึงความยุติธรรม

วจนา วรรลยางกูร

19 May 2020

Talk Programmes

14 May 2020

101 One-On-One Ep.139 : สุขภาพ vs. เสรีภาพ สำรวจสิทธิคนไทย ยุคโควิด-19

101 ชวนสนทนากับ ศิริกาญจน์ เจริญศิริ ทนายความ จากศูนย์ทนายความเพื่อสิทธิมนุษยชน ถึงสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในไทยและระดับโลก เมื่อโรคระบาดเข้ามากล้ำกรายชีวิต

101 One-on-One

14 May 2020

Justice & Human Rights

14 May 2020

‘วัฒนธรรมการป้องกันอาชญากรรมไซเบอร์’ โจทย์ใหม่ความยุติธรรมของอาเซียน

101 เก็บความส่วนหนึ่งจากการประชุมอาเซียนว่าด้วยการป้องกันอาชญากรรมและความยุติธรรมทางอาญา ครั้งที่ 2 ว่าด้วยเรื่องภัยจากการใช้อินเทอร์เน็ตที่เพิ่มขึ้น และการนำเทคโนโลยีมาใช้ป้องกันปัญหาเรื่องยาเสพติดและสิทธิมนุษยชน

กองบรรณาธิการ

14 May 2020

Talk Programmes

7 May 2020

101 One-On-One Ep.134 : “10 ปี สลายชุมนุมคนเสื้อแดง สิทธิมนุษยชนที่หายไป”

101 ชวนรำลึก 1 ทศวรรษ เหตุการณ์สลายการชุมนุมคนเสื้อแดง เมื่อเดือนเมษาฯ-พฤษภาฯ 2553 อะไรเป็นเงื่อนไขทำให้มีผู้เสียชีวิตถึง 99 ศพ บาดเจ็บกว่า 2 พันคน ใช้งบประมาณในการปราบปรามไปกว่า 3,700 ล้านบาท กลายเป็นประวัติศาสตร์บาดแผลอันเรื้อรัง และสังคมไทยเรียนรู้อะไรบ้าง

101 One-on-One

7 May 2020

Social Issues

7 May 2020

ระเบียบใหม่เรื่องทรงผมนักเรียนได้เรื่องจริงหรือ?

เนติวิทย์ โชติภัทร์ไพศาล และ สิทธิกานต์ ธีระวัฒนชัย เขียนถึงระเบียบใหม่เรื่องทรงผมนักเรียนที่คล้ายจะมีพัฒนาการในแง่บวก แต่ยังไม่ได้คำนึงถึงสิทธิเสรีภาพและศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ของนักเรียนอย่างแท้จริง

เนติวิทย์ โชติภัทร์ไพศาล

7 May 2020

Thai Politics

16 Mar 2020

นพ.นิรันดร์ พิทักษ์วัชระ : สิทธิมนุษยชนเกิดไม่ได้ ในรัฐธรรมนูญที่ซ่อนเร้นการละเมิด

วจนา วรรลยางกูร สนทนากับ นพ.นิรันดร์ พิทักษ์วัชระ อดีต ส.ว. เลือกตั้ง และอดีต กสม. ถึงการยกระดับสิทธิเสรีภาพในสังคมไทยที่จะต้องทำไปพร้อมกับการพัฒนาประชาธิปไตยและการมีรัฐธรรมนูญที่ยึดโยงกับประชาชน

วจนา วรรลยางกูร

16 Mar 2020

Law

24 Feb 2020

สิทธิของปวงชนชาวไทยตามรัฐธรรมนูญ : หลักสันนิษฐานไว้ก่อนว่าบริสุทธิ์

ปกป้อง ศรีสนิท ตอบคำถามว่า “ทำไมต้องคุ้มครองคนชั่วที่กระทำความผิด” จากหลักสันนิษฐานไว้ก่อนว่าบริสุทธิ์ อันเป็นสิทธิของปวงชนชาวไทยที่ระบุไว้ตามรัฐธรรมนูญ

ปกป้อง ศรีสนิท

24 Feb 2020

Asean

10 Feb 2020

‘หมวย’ นักสิ่งแวดล้อมหญิง นักแอนตี้คอร์รัปชันชาวลาวที่โลกควรรู้จัก

เนติวิทย์ โชติภัทร์ไพศาล และ ศุภกฤต เขียนถึง ‘หมวย’ ผู้หญิงธรรมดาที่ค้นพบว่าเสียงของเธอมีความหมาย และใช้มันส่งเสียงถึงความไม่เป็นธรรมรอบตัว

เนติวิทย์ โชติภัทร์ไพศาล

10 Feb 2020

Justice & Human Rights

27 Dec 2019

สิทธิมนุษยชน 2019 : สูญหาย บานปลาย ห่างไกลความเป็นธรรม

วจนา วรรลยางกูร ชวนทบทวนสถานการณ์สิทธิมนุษยชนและความเป็นธรรมในสังคมผ่านผลงานตลอดปี 2019 ของ 101 ที่ทำให้เห็นถึงปัญหารอบด้านอันเรียงร้อยกลายเป็นสังคมปัจจุบัน

วจนา วรรลยางกูร

27 Dec 2019

Sustainability

4 Dec 2019

พชร คำชำนาญ : เอ็นจีโอพันธุ์ใหม่ และบทเรียนจากการ “ดูกับตา ย่ำกับตีน”

คุยกับ พชร คำชำนาญ เอ็นจีโอรุ่นใหม่ไฟแรง ว่าด้วยจุดเปลี่ยนที่ทำให้เลือกทำงานเป็นเอ็นจีโอ การทิ้งชีวิตเมืองกรุงมุ่งสู่ดอยสูง และบทเรียนจากการทำงานคลุกคลีกับกลุ่มชาติพันธุ์ปกาเกอะญอ

พันธวัฒน์ เศรษฐวิไล

4 Dec 2019
1 4 5 6 8

RECOMMENDED

Social Issues

17 Feb 2017

อ่านข่าวออนไลน์จากสำนักไหน ใครจำได้บ้าง

แน่นอน คนเราอ่านข่าวออนไลน์กันมากขึ้น แต่เราจำได้หรือเปล่าว่าข่าวไหนมาจากสำนักไหน ใครวิเคราะห์อะไรบ้าง ได้ตามข่าวไหนต่อเป็นพิเศษหรือเปล่า วิธีอ่านข่าวออนไลน์ของเราเป็นอย่างไร

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Social Issues

17 Feb 2017

น้ำแข็งขั้วโลกหดตัวต่ำสุดในประวัติศาสตร์ ไม่ใช่แค่ขั้วเดียว-แต่ทั้งสองขั้วเลย!

ขั้วโลกเหนือเป็นฤดูหนาว ขั้วโลกใต้เป็นฤดูร้อน แต่ที่เหมือนกันก็คือ ไม่ว่าจะหนาวจะร้อน ทั้งสองขั้วโลกต่างมีอาการ ‘น้ำแข็งหดตัว’ จนเกิดสถิติใหม่อย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อนด้วยกันทั้งคู่!

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Life & Culture

20 Feb 2017

พื้นที่สาธารณะ พื้นที่ของใครกันแน่?

ดัชนีชี้วัดความสุขประชากรในเมืองขึ้นอยู่กับอะไรบ้าง ห้างสวยแอร์เย็น รถไฟฟ้าไร้โฆษณา หรือจริงๆ มนุษย์เมืองล้วนต้องการพื้นที่สาธารณะที่เป็น ‘สาธารณะ’ จริงๆ

เทพพิทักษ์ มณีพงษ์

20 Feb 2017

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save