fbpx

Law

25 Mar 2020

โมงยามแห่งรัฐธรรมนูญจากประชาชน

เงื่อนไขใหญ่สำหรับ เข็มทอง ต้นสกุลรุ่งเรือง ที่เห็นว่าจะนำไปสู่การแก้ไขรัฐธรรมนูญได้ คือ ‘โมงยามแห่งรัฐธรรมนูญ’ อันเป็นห้วงเวลาที่ประชาชนแสดงสัญญาณว่าต้องการความเปลี่ยนแปลง

เข็มทอง ต้นสกุลรุ่งเรือง

25 Mar 2020

US

6 Feb 2020

สงครามไต่สวนถอดถอนทรัมป์ในวุฒิสภา : ความเสื่อมถอยของประชาธิปไตยในอเมริกา

เกาะติดการไต่สวนเพื่อถอดถอนประธานาธิบดีโดนัลด์ ทรัมป์ในวุฒิสภา กับ ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ

6 Feb 2020

Global Affairs

9 Aug 2019

สกุลเงิน Libra ของ Facebook กับศึกชิงผู้นำโลกระหว่างจีน-สหรัฐฯ

อาร์ม ตั้งนิรันดร เขียนถึง “Libra” เงินสกุลดิจิทัลที่ Facebook วางแผนจะสร้าง กับสถานการณ์ที่อาจพลิกโฉมระบบการเงิน การธนาคาร และวงการเทคโนโลยีโลก และอาจโหมกระพือให้สงครามการชิงความเป็นผู้นำโลกระหว่างจีน-สหรัฐฯ หนาวเย็นกว่าเดิม

อาร์ม ตั้งนิรันดร

9 Aug 2019

Social Movement

19 Jul 2019

ปฏิบัติการทวงคืน ‘อนาคต’ ของคนรุ่นใหม่: จากโลกถึงไทย

จันจิรา สมบัติพูนศิริ เขียนถึงการลุกฮือของ ‘เด็ก’ ในสวีเดน เยอรมนี สหรัฐอเมริกา ฮ่องกง ในประเด็นสิ่งแวดล้อม ความรุนแรง และประชาธิปไตย อันทำให้เห็นพลังของคนรุ่นใหม่ที่หวังสร้างความเปลี่ยนแปลง

จันจิรา สมบัติพูนศิริ

19 Jul 2019

Asia

26 Jun 2019

สหรัฐในสายตาของคนอิหร่าน

ในช่วงที่ความขัดแย้งระหว่างสหรัฐอเมริกากับอิหร่านเริ่มปะทุ วันชัย ตันติวิทยาพิทักษ์ เยือนกรุงเตหะราน พร้อมหาคำตอบที่ว่า “ทำไมสหรัฐอเมริกากับอิหร่านเป็นศัตรูกันมาช้านาน”

วันชัย ตันติวิทยาพิทักษ์

26 Jun 2019

Global Affairs

22 Jan 2019

เช็คสถานการณ์การเมืองโลก : การหวนคืนของประวัติศาสตร์และการจัดระเบียบโลกใหม่

สมคิด พุทธศรี ตรวจเช็คสถานการณ์การเมืองโลกในปีแห่งการเปลี่ยนผ่านไปสู่ระเบียบโลกใหม่ที่ยังไม่มีใครรู้ว่าจะมีหน้าตาเป็นอย่างไร

สมคิด พุทธศรี

22 Jan 2019

US

11 Jan 2019

กำแพงชายแดนกับวิกฤตรัฐบาล

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ เกาะติดสถานการณ์การเมืองเรื่องกำแพงชายแดน ต้นเหตุแห่งการ ‘ปิดรัฐบาล’ ของทรัมป์ อะไรอยู่เบื้องหลังเกมการเมืองเรื่องนี้

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ

11 Jan 2019

Life & Culture

9 Nov 2018

วัดจุดแข็งจุดอ่อนจีน-สหรัฐฯ ด้าน A.I.

ศึก A.I. ระหว่างสหรัฐอเมริกาและจีนครั้งนี้ใหญ่หลวงนัก หากใครกุมความได้เปรียบนี้ได้ ก็จะขึ้นเป็นผู้นำเทคโนโลยีแห่งโลกอนาคต อาร์ม ตั้งนิรันดร พาไปดูจุดแข็ง-จุดอ่อน ของทั้งสองยักษ์ใหญ่นี้ ว่ามีโอกาสเพลี่ยงพล้ำหรือเอาชนะกันได้ด้วยวิธีการใด

อาร์ม ตั้งนิรันดร

9 Nov 2018

สารกันเบื่อ

17 Oct 2018

อยากอยู่หรืออยากหย่า ตัวเลขเกี่ยวกับความรักที่ไม่ลงตัวระหว่างเธอกับฉัน

คอลัมน์ ‘สารกันเบื่อ’ ของเอกศาสตร์ สรรพช่างว่าด้วยเรื่องการหย่าร้าง คนอย่าร้างกันมากขึ้นจริงไหม อยู่ก่อนแต่งทำให้หย่ากันน้อยลงจริงรึเปล่า ครอบครัวที่แตกแยกตั้งแต่รุ่นพ่อแม่ส่งผลต่อการหย่าร้างของคนรุ่นลูกแค่ไหน แล้วการแต่งงานของเพศเดียวกันล่ะ?

เอกศาสตร์ สรรพช่าง

17 Oct 2018

วิธีอ่าน

12 Oct 2018

อ่านยุทธศาสตร์ในช่วงเวลา

ศุภมิตร ปิติพัฒน์ อ่านยุทธศาสตร์การต่างประเทศไทยต่อจีนและสหรัฐฯ ผ่านห้วงเวลาในประวัติศาสตร์ เพื่อพิจารณาทางเลือกในการดำเนินยุทธศาสตร์ในสถานการณ์ปัจจุบัน

ศุภมิตร ปิติพัฒน์

12 Oct 2018

Global Affairs

21 Sep 2018

20 ข้อควรรู้ : โอกาสท่ามกลางวิกฤตของไทยและอาเซียน ในสงครามการค้าของสหรัฐฯ

ปิติ ศรีแสงนาม สรุปสงครามการค้าของการค้าของสหรัฐฯ ฉบับย่นย่อ พร้อมทั้งชี้โอกาสและความเสี่ยงของผู้ประกอบไทยในระยะสั้น และทางออกที่ยั่งยืนสำหรับทุกคนในระยะยาว

ปิติ ศรีแสงนาม

21 Sep 2018

US

7 Sep 2018

การเลือกตั้งกลางเทอมในสหรัฐ : จับตาประกายไฟที่พร้อมไหม้ลามทุ่งของเดโมแครต

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ วิเคราะห์ “การเลือกตั้งกลางเทอม” 2018 ในสหรัฐ การเลือกตั้งสำคัญที่จะชี้ชะตาทรัมป์ เดโมแครต และรีพับลิกัน อะไรคือประกายไฟที่พร้อมไหม้ลามทุ่งการเมืองอเมริกันในการเลือกตั้งครั้งนี้

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ

7 Sep 2018

World

6 Jul 2018

ศาลสูงสุดสหรัฐฯ กำลังเปลี่ยนขั้ว?

อาร์ม ตั้งนิรันดร วิเคราะห์ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นต่อสิทธิและเสรีภาพของผู้คนและแนวทางการต่อสู้ทางการเมืองแบบใหม่ ถ้าหากศาลสูงสุดของสหรัฐฯ กลายเป็นอนุรักษนิยมเต็มตัว

อาร์ม ตั้งนิรันดร

6 Jul 2018

Economy

26 Jun 2018

ท่องโลกนโยบายสาธารณะและนวัตกรรมการเงินในอเมริกา

พิพัฒน์ เหลืองนฤมิตชัย เล่าประสบการณ์การเดินทางทั่วสหรัฐอเมริกา ผ่าน Eisenhower Fellowships เพื่อเรียนรู้แนวทางใหม่ในกระบวนการกำหนดนโยบายสาธารณะ และการสร้างนวัตกรรมทางการเงินในโลกที่เทคโนโลยีเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว

พิพัฒน์ เหลืองนฤมิตชัย

26 Jun 2018

World

22 Jun 2018

สิทธิมนุษยชนสากลจะรอดไหมในระเบียบโลกใหม่? จากโทษประหารในไทยถึงสถานการณ์ในสหรัฐฯ

จากโทษประหารถึงชะตากรรมสิทธิมนุษยชนในโลกอเสรีนิยม จันจิรา สมบัติพูนศิริ ตั้งคำถาม ทำไมแรงกัดดันต่อรัฐที่ละเมิดสิทธิมนุษยชนจากเวทีโลกจึงไม่ค่อยได้ผลในปัจจุบัน

จันจิรา สมบัติพูนศิริ

22 Jun 2018
1 4 5 6

RECOMMENDED

Social Issues

17 Feb 2017

อ่านข่าวออนไลน์จากสำนักไหน ใครจำได้บ้าง

แน่นอน คนเราอ่านข่าวออนไลน์กันมากขึ้น แต่เราจำได้หรือเปล่าว่าข่าวไหนมาจากสำนักไหน ใครวิเคราะห์อะไรบ้าง ได้ตามข่าวไหนต่อเป็นพิเศษหรือเปล่า วิธีอ่านข่าวออนไลน์ของเราเป็นอย่างไร

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Social Issues

17 Feb 2017

น้ำแข็งขั้วโลกหดตัวต่ำสุดในประวัติศาสตร์ ไม่ใช่แค่ขั้วเดียว-แต่ทั้งสองขั้วเลย!

ขั้วโลกเหนือเป็นฤดูหนาว ขั้วโลกใต้เป็นฤดูร้อน แต่ที่เหมือนกันก็คือ ไม่ว่าจะหนาวจะร้อน ทั้งสองขั้วโลกต่างมีอาการ ‘น้ำแข็งหดตัว’ จนเกิดสถิติใหม่อย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อนด้วยกันทั้งคู่!

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Life & Culture

20 Feb 2017

พื้นที่สาธารณะ พื้นที่ของใครกันแน่?

ดัชนีชี้วัดความสุขประชากรในเมืองขึ้นอยู่กับอะไรบ้าง ห้างสวยแอร์เย็น รถไฟฟ้าไร้โฆษณา หรือจริงๆ มนุษย์เมืองล้วนต้องการพื้นที่สาธารณะที่เป็น ‘สาธารณะ’ จริงๆ

เทพพิทักษ์ มณีพงษ์

20 Feb 2017

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save