fbpx

Thai Politics

11 May 2022

นับถือพุทธ ไม่นับถือพระ

ความเสื่อมทรามในวัตรปฏิบัติของพระไทยที่ปรากฏมักถูกอธิบายว่าเป็นเรื่อง ‘ปัจเจกบุคคล’ แท้จริงแล้วปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นไม่สัมพันธ์กับการจัดโครงสร้างขององค์กรสงฆ์เลยหรือ?

สมชาย ปรีชาศิลปกุล

11 May 2022

Law

5 Apr 2022

ขอแสดงความไม่ยินดีกับผู้พิพากษาใหม่

สมชาย ปรีชาศิลปกุล เขียนถึงสถาบันการเรียนการสอนนิติศาสตร์ของไทย ที่มักแสดงความยินดีกับผู้สอบผู้พิพากษาผ่าน ทั้งที่อาจไม่ใช่สิ่งน่ายินดี หากผู้สอบผ่านผู้นั้นเข้าไปทำงานรับใช้รัฐ มากกว่าทำเพื่อประชาชน

สมชาย ปรีชาศิลปกุล

5 Apr 2022

Politics

14 Mar 2022

Quasi-citizen: สถานะกึ่งพลเมืองยามโลกดาลเดือด

แนวคิดสถานะ ‘กึ่งพลเมือง’ ถูกเสนอขึ้นเพื่อรับมือการเผชิญหน้ากับผู้อพยพแบบไม่หวนกลับ เมื่อผู้ที่อพยพไปยังดินแดนใหม่จำเป็นต้องเข้าถึงสิทธิพื้นฐานที่จำเป็นต่อการดำรงชีวิต

สมชาย ปรีชาศิลปกุล

14 Mar 2022

Law

9 Feb 2022

เมื่อเธอเอาร่างกายเรียกร้องความเป็นธรรม

สมชาย ปรีชาศิลปกุล เขียนถึงกระบวนการยุติธรรมในคดีข่มขืน ซึ่งมีความยุ่งยากซับซ้อน และสามารถทำให้ผู้หญิงตกอยู่ในสถานะเป็นฝ่ายเสียเปรียบ

สมชาย ปรีชาศิลปกุล

9 Feb 2022

Social Issues

12 Jan 2022

จดหมายจากอาจารย์มหา’ลัยชายขอบ

สมชาย ปรีชาศิลปกุล ชวนเปิดจดหมายจากอาจารย์ในมหาวิทยาลัยเล็กที่เขียนมาทักทาย พร้อมบอกเล่าความในใจถึงสภาพการทำงานที่ไม่เอื้อต่อการเติบโตทางวิชาการหรือกระทั่งการจะทำงานสอนได้เต็มที่

สมชาย ปรีชาศิลปกุล

12 Jan 2022

Politics

16 Dec 2021

ชำแหละคำพิพากษาศาลรัฐธรรมนูญ : ตรรกะใดซ่อนอยู่ในสมรส(ไม่)เท่าเทียม

Gender Studies and Justice ในประเทศไทย จัดงานเสวนาหัวข้อ ‘ชำแหละคำพิพากษาศาลรัฐธรรมนูญ : สมรส(ไม่)เท่าเทียม= ตรรกะวิบัติ…หรือไม่?’ เพื่อตั้งคำถามต่อระบบตรรกะและการใช้เหตุผลต่อคำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญ ร่วมเสวนาโดย รศ.ดร.ชลิดาภรณ์ ส่งสัมพันธ์, รศ. สมชาย ปรีชาศิลปกุล, พ.ต.ท.พญ. ลักขณา จักกะพาก, ดร. อันธิฌา แสงชัย

พิมพ์ชนก พุกสุข

16 Dec 2021

Politics

15 Dec 2021

ความเกลียดกลัวเพศหลากหลายจาก ‘ตุลาการชาย’ ยุคเบบี้บูม

สมชาย ปรีชาศิลปกุล ชวนพิจารณาคุณลักษณะของตุลาการศาลรัฐธรรมนูญที่อาจช่วยทำความเข้าใจปัจจัยที่ส่งผลต่อคำวินิจฉัยกรณีสมรสเท่าเทียม

สมชาย ปรีชาศิลปกุล

15 Dec 2021

Politics

25 Nov 2021

มหาวิทยาลัยในเงามืด

ท่ามกลางการคุกคามต่อเสรีภาพในการแสดงออกและเสรีภาพทางวิชาการของคณาจารย์และนักศึกษา สมชาย ปรีชาศิลปกุล ชวนตั้งคำถามถึงบทบาทของมหาวิทยาลัย

สมชาย ปรีชาศิลปกุล

25 Nov 2021

Politics

17 Nov 2021

จุดเปลี่ยนหลักนิติศาสตร์-ประวัติศาสตร์ : อ่านคำวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญผ่านสายตานักกฎหมาย

101 ชวนอ่านคำวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญครั้งนี้ ผ่านสายตาสามนักกฎหมาย คือ สมชาย ปรีชาศิลปกุล, ต่อพงศ์ กิตติยานุพงศ์ และเข็มทอง ต้นสกุลรุ่งเรือง เมื่อเกิดคำถามจำนวนมากถึงเรื่องอำนาจอธิปไตย ขอบเขตการใช้สิทธิเสรีภาพ จนถึงผลกระทบที่อาจตามมา

กองบรรณาธิการ

17 Nov 2021

Politics

16 Nov 2021

Constitutional Dialogue : รัฐธรรมนูญสนทนา #9 “อ่านคำวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญ: ตำแหน่งแห่งที่ของสถาบันกษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญ”

โครงการรัฐธรรมนูญสนทนาชวนอ่านคำวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญไทย และผลกระทบต่อตำแหน่งแห่งที่ของสถาบันกษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญ รวมไปถึงการจัดวางโครงสร้างอำนาจทางการเมืองไทยในภาพใหญ่

กองบรรณาธิการ

16 Nov 2021

Politics

9 Nov 2021

ละเมิดอำนาจศาล มิใช่ละเมิดสถาบันพระมหากษัตริย์

สมชาย ปรีชาศิลปกุล ชวนมองถึงเหตุผลที่ทำให้คดีละเมิดอำนาจศาลถูกตีความในขอบเขตที่กว้างขวางออกไปมากกว่าการขัดขวางกระบวนการพิจารณาในชั้นศาล

สมชาย ปรีชาศิลปกุล

9 Nov 2021

Politics

21 Oct 2021

เผาธงที่ไม่ใช่ชังชาติ เปลือยกายที่ไม่ใช่ลามกจกเปรต

สมชาย ปรีชาศิลปกุล ชวนพิจารณาการตั้งข้อหา ‘ป้าเป้า’ จากการเปลือยร่างกายระหว่างประท้วงเพื่อโต้ตอบเจ้าหน้าที่ตำรวจ

สมชาย ปรีชาศิลปกุล

21 Oct 2021

Politics

12 Sep 2021

อย่าประเมินสันติวิธีบวกเกินไป อย่าประเมินความรุนแรงลบเกินไป

สมชาย ปรีชาศิลปกุล ชวนคิดเรื่องวิธีการมองสันติวิธีในไทย และปัจจัยที่จะทำให้การเคลื่อนไหวแบบไม่ใช้ความรุนแรงมีความหมาย

สมชาย ปรีชาศิลปกุล

12 Sep 2021

Social Issues

24 Aug 2021

ทำไมอาจารย์มหาวิทยาลัยกลายเป็นพวก ‘อิกนอร์’

สมชาย ปรีชาศิลปกุล เขียนถึงเหตุที่อาจารย์มหาวิทยาลัยจำนวนมากกลายเป็นพวก ‘อิกนอร์’ (ignorant) ทั้งที่อยู่ในบทบาทที่สังคมคาดหมายว่าจะตระหนักถึงปัญหาต่างๆ ได้มากกว่าอาชีพอื่น

สมชาย ปรีชาศิลปกุล

24 Aug 2021
1 2 3 4 8

RECOMMENDED

Social Issues

17 Feb 2017

อ่านข่าวออนไลน์จากสำนักไหน ใครจำได้บ้าง

แน่นอน คนเราอ่านข่าวออนไลน์กันมากขึ้น แต่เราจำได้หรือเปล่าว่าข่าวไหนมาจากสำนักไหน ใครวิเคราะห์อะไรบ้าง ได้ตามข่าวไหนต่อเป็นพิเศษหรือเปล่า วิธีอ่านข่าวออนไลน์ของเราเป็นอย่างไร

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Social Issues

17 Feb 2017

น้ำแข็งขั้วโลกหดตัวต่ำสุดในประวัติศาสตร์ ไม่ใช่แค่ขั้วเดียว-แต่ทั้งสองขั้วเลย!

ขั้วโลกเหนือเป็นฤดูหนาว ขั้วโลกใต้เป็นฤดูร้อน แต่ที่เหมือนกันก็คือ ไม่ว่าจะหนาวจะร้อน ทั้งสองขั้วโลกต่างมีอาการ ‘น้ำแข็งหดตัว’ จนเกิดสถิติใหม่อย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อนด้วยกันทั้งคู่!

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Life & Culture

20 Feb 2017

พื้นที่สาธารณะ พื้นที่ของใครกันแน่?

ดัชนีชี้วัดความสุขประชากรในเมืองขึ้นอยู่กับอะไรบ้าง ห้างสวยแอร์เย็น รถไฟฟ้าไร้โฆษณา หรือจริงๆ มนุษย์เมืองล้วนต้องการพื้นที่สาธารณะที่เป็น ‘สาธารณะ’ จริงๆ

เทพพิทักษ์ มณีพงษ์

20 Feb 2017

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save