โอกาสสถาน: ออกแบบโอกาส-สร้างพื้นที่ความเข้าใจผู้ต้องขังหญิง กับทีมสถาปัตย์ ม.กรุงเทพ
101 สนทนากับทีมโอกาสสถาน คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ ว่าด้วยเบื้องหลังความคิดในการ ‘ออกแบบ’ โอกาสและความเข้าใจต่อผู้ต้องขังหญิง

101 สนทนากับทีมโอกาสสถาน คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ ว่าด้วยเบื้องหลังความคิดในการ ‘ออกแบบ’ โอกาสและความเข้าใจต่อผู้ต้องขังหญิง
คอลัมน์ Shaped by Architecture เดือนนี้ รชพร ชูช่วย เขียนถึงแนวคิดการออกแบบสัปปายะสภาสถาน และตั้งคำถามกับพื้นที่เพื่อประกอบ ‘ความดี’ แห่งนี้ ว่าใช้ได้จริงแค่ไหนในระบอบประชาธิปไตย
คอลัมน์ Shaped by Architecture เดือนนี้ รชพร ชูช่วย เขียนถึงพื้นที่ท้องถนน ที่สะท้อนการมีส่วนร่วมของผู้คนในสังคมประชาธิปไตย ถนนสำคัญต่อการเรียกร้องทางการเมืองอย่างไร และเพิ่มพลังให้คนได้อย่างไร
คอลัมน์ Shaped by Architecture เดือนนี้ รชพร ชูช่วย เขียนถึงต้นทุนการดูแลรักษาอาคารขนาดใหญ่ของรัฐ ที่เชื่อมโยงกับค่าใช้จ่ายของลูกหลานในอนาคต
หลังจากเกิดวิกฤตโควิด-19 รูปแบบการอยู่อาศัยของผู้คนจะเปลี่ยนไปอย่างไร 101 ชวน รชพร ชูช่วย อาจารย์ประจำคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มาร่วมคิดในประเด็นเหล่านี้
คอลัมน์ Shaped by Architecture เดือนนี้ รชพร ชูช่วย เขียนถึงอาคารสมัยใหม่ที่ใช้ ‘เครื่องปรับอากาศ’ ในการ ‘ปรับอากาศ’ โดยไม่ได้มีระบบหมุนเวียนอากาศตามธรรมชาติ ซึ่งก่อให้เกิดปัญหาต่อผู้อยู่อาศัย
คุยกับ ต้นข้าว ปาณินท์ อาจารย์ประจำคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากรว่าด้วยเรื่องความเป็นมา ความเป็นไป และการปรับตัวของสถาปัตยกรรมศาสตร์ในโลกปัจจุบัน
คอลัมน์ Shaped by Architecture เดือนนี้ รชพร ชูช่วย เขียนถึง ‘ความเป็นส่วนตัว’ ที่เกิดขึ้นจากสถาปัตยกรรม ในยุคที่ผู้คนมีกำลังจับจ่ายสินค้าและบริการมากขึ้น ความส่วนตัวที่ว่านี้มีข้อดีข้อเสียอย่างไร
คอลัมน์ Shaped by Architecture ตอนแรกของ รชพร ชูช่วย ว่าด้วย ‘สถาปัตยกรรมที่นับรวม’ ตั้งคำถามกับอาคารที่ไม่มีพื้นที่ให้แม่บ้านทานข้าว หรือที่นั่งพักให้พนักงาน สถาปัตยกรรมจะเข้ามาช่วยตรงนี้ได้อย่างไร
สัปดาห์นี้ Eyedropper Fill หยิบเอาไอเดียจากหนังสือ Borderwall as Architecture ที่รวบรวมไอเดียของสถาปนิก Ronald Rael และนักออกแบบคนอื่นๆ ที่ร่วมกันจินตนาการและนิยามพื้นที่กำแพงกั้นเขตแดนสหรัฐฯ – เม็กซิโกขึ้นใหม่
สัมภาษณ์ ผศ.ดร. รชพร ชูช่วย ว่าด้วยออฟฟิศในโลกยุคใหม่ วันหยุดกับวิถีคนเมือง หน้าตาของอาคารในโลกเมื่อ 20 ปีที่แล้วต่างจากตอนนี้อย่างไร พื้นที่สาธารณะหมายถึงอะไร อาคารส่งผลต่อวิถีชีวิตผู้คนอย่างไร และสถาปัตยกรรมที่เราเห็นสะท้อนภาพสังคมแบบใดบ้าง หนึ่งในตอนของ Spotlight ‘บางคอก’
โตมร ศุขปรีชา พาไปสำรวจเทรนด์ด้านการออกแบบสถาปัตยกรรม ที่เรียกว่า Statement Ceilings หรือ ‘เพดานประกาศศักดา’
ว่ากันว่า สิ่งที่นักออกแบบถือเป็น Statement หรือการประกาศศักดาแห่งความหรูหราในงานสถาปัตยกรรม หาใช่เครื่องประดับผนังหรือเฟอร์นิเจอร์ต่างๆ แต่อย่างใด — ทว่าคือ ‘เพดาน’ นั่นเอง
ระบบ Recommend จะคัดสรรบทความและสื่อสร้างสรรค์ต่างๆ ที่คุณสนใจ มาให้คุณเลือกในหน้าโปรไฟล์ส่วนตัวของคุณ ให้คุณไม่พลาดทุกเนื้อหาที่คัดมาสำหรับคุณโดยเฉพาะ
คุณสามารถบันทึกบทความแบบ Read Later โดยคลิกที่ปุ่ม Bookmark Icon หรือจะเก็บบทความที่ชื่นชอบเป็นการส่วนตัวไว้ในหมวด Favorite โดยคลิกที่ปุ่ม Favorite Icon เพื่อกลับมาอ่านในภายหลัง
เพียงคุณลงชื่อเข้าใช้ ระบบจะจดจำตัวเลือกฟอนต์และธีมสีที่คุณเคยเลือก ให้คุณอ่านและรับชมทุกเนื้อหาอย่างเต็มที่ สบายตาและเพลิดเพลินใจในแบบที่เหมาะกับคุณ ไม่ว่าจะใช้งานบนคอมพิวเตอร์ แท็บเล็ต หรือสมาร์ตโฟน
เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า