China

17 Nov 2024

ความเป็นการเมืองของเพลง ‘เติ้ง ลี่จวิน’: ประวัติศาสตร์อารมณ์ของขบวนการเสรีนิยม ถึงพลังชาตินิยมจีนแผ่นดินใหญ่

ชยางกูร เพ็ชรปัญญา ชวนมองอิทธิพลจากเพลงของเติ้ง ลี่จวินที่สร้างอารมณ์ความรู้สึกแก่สังคมจีน จนถึงการถูกใช้เป็นภาพแทนอุดมการณ์การเมืองในแต่ละช่วงเวลา

ชยางกูร เพ็ชรปัญญา

17 Nov 2024

Books

19 Sep 2024

‘ฮ่องเต้อัปยศ กับ จอมยุทธ์รักชาติ’ อ่านมังกรหยก นิยายหลังม่านนิวเคลียร์ ในวาระ 100 ปี กิมย้ง

ภิญญพันธุ์ พจนะลาวัณย์ เขียนถึง ‘มังกรหยก’ นวนิยายอันเลื่องชื่อของ ‘กิมย้ง’ ที่แฝงนัยทางสังคมและการเมืองในยุคสมัยที่จีนและโลกเผชิญกับความปั่นป่วน

ภิญญพันธุ์ พจนะลาวัณย์

19 Sep 2024

Life & Culture

8 Aug 2024

อ่านอดีต ปัจจุบัน อนาคตของสังคมญี่ปุ่นและไทยผ่าน ‘โดราเอมอน’

ภิญญพันธุ์ พจนะลาวัณย์ ชวนผู้อ่านนั่งไทม์แมชชีนไปดูสังคมญี่ปุ่นและไทยผ่าน ‘โดราเอมอน’ หาคำตอบว่าการ์ตูนหุ่นยนต์แมวสีฟ้าที่มาพร้อมของวิเศษหลากชนิดได้ประทับรอยความเปลี่ยนแปลงอะไรไว้ในสังคมบ้าง

ภิญญพันธุ์ พจนะลาวัณย์

8 Aug 2024

World

7 Aug 2023

สันติภาพของยูเครนบนทางเลือกแห่งอาวุธนิวเคลียร์: ‘คงครอบครองไว้’ หรือ ‘สละละทิ้งไป’

กฤตวรรณ ประทุม ชวนสำรวจข้อถกเถียงว่าด้วย ‘การครอบครองไว้’ หรือ ‘การสละละทิ้งไป’ ซึ่งอาวุธนิวเคลียร์ของยูเครน ที่เคยมีไว้ในครอบครองหลังการล่มสลายของสหภาพโซเวียต ทางเลือกเหล่านี้ส่งผลอะไรต่อการเมืองระหว่างประเทศในยุคหลังสงครามเย็น โดยเฉพาะในสงครามรัสเซีย-ยูเครนที่กำลังดำเนินอยู่ในปัจจุบันนี้

กองบรรณาธิการ

7 Aug 2023

Life & Culture

24 Jul 2023

สหรัฐอเมริกา-รัสเซีย: จากคู่ปรับทางการเมืองสู่คู่ปรับในสนามกีฬา

คอลัมน์ The Rivalry เดือนนี้ สมศักดิ์ จันทวิชชประภา เขียนถึง สหรัฐฯ-รัสเซีย สองชาติมหาอำนาจที่แข่งกันทั้งในสนามการเมืองและสนามกีฬา

สมศักดิ์ จันทวิชชประภา

24 Jul 2023

World

5 Jul 2023

ปากเสียงของแรงงานการศึกษาทั้งฝ่ายซ้ายและขวา: ทวิลักษณ์ของสหภาพแรงงานการศึกษาในเยอรมนี

ภิญญพันธุ์ พจนะลาวัณย์ เขียนถึงพัฒนาการของสหภาพแรงงานการศึกษาในเยอรมนี จากการรวมชาติถึงสิ้นสุดสงครามเย็น การดำรงอยู่ของสหภาพฯ ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์ทางการเมืองที่พลิกผันตีลังกาเป็นรถไฟเหาะไปด้วย

ภิญญพันธุ์ พจนะลาวัณย์

5 Jul 2023

Film & Music

25 Jun 2023

จาก ‘แหม่มปลาร้า’ ถึง ‘จดหมายจากเมียเช่า’: ฟังเพลงลูกทุ่งไทยในยุค ‘อเมริกันครองเมือง’

อิทธิเดช พระเพ็ชร พาย้อนมองอิทธิพลของสหรัฐฯ ต่อประเทศไทยในยุคสงครามเย็นผ่านเพลงลูกทุ่ง

อิทธิเดช พระเพ็ชร

25 Jun 2023

World

12 Jun 2023

100 ปี เฮนรี คิสซินเจอร์: ร่องรอยความคิดของ ‘บุรุษสงครามเย็น’ ในระเบียบโลก

คิสซินเจอร์ ‘คิด’ ต่อความเป็นไปของโลกตลอดเวลาที่ผ่านมาอย่างไร? โจทย์ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศแบบไหนที่คิสซินเจอร์ตั้งไว้? อะไรคือมรดกทางความคิดที่คิสซินเจอร์ฝากไว้ในโลกการเมืองระหว่างประเทศ? และเราควรทำความเข้าใจคิสซินเจอร์ด้วยหมวกใบไหนกันแน่?

ณรจญา ตัญจพัฒน์กุล

12 Jun 2023

World

22 Mar 2023

A ‘New’ Cold War in the Arctic? ขยับขยายสมรภูมิภูมิรัฐศาสตร์สู่ขั้วโลกเหนือ

ศิวัชฐ์ วรรณโกมล เขียนถึง การแข่งขันและความร่วมมือในภูมิภาคอาร์กติกที่ทวีความรุนแรงมากขึ้นในหมู่ ‘รัฐอาร์กติก’ และ ‘รัฐที่อยู่ใกล้อาร์ติก’ โดยเฉพาะระหว่างสหรัฐฯ รัสเซีย และจีน จนตกอยู่ในสภาวะสามขั้วอำนาจของสงครามเย็น

ศิวัชฐ์ วรรณโกมล

22 Mar 2023

World

31 Jan 2023

‘โรคยังระบาด สงครามยังรบต่อ อากาศยังผันผวน’ โลก 2023 ในวันที่ยังไม่เห็นแสงสว่างปลายอุโมงค์ กับ สุรชาติ บำรุงสุข

ในเมื่อโลกยังไม่เห็นแสงสว่างที่ปลายอุโมงค์ 101 สนทนากับ สุรชาติ บำรุงสุข ศาสตราจารย์กิตติคุณ คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ว่าด้วยโจทย์วิกฤตโลกที่เรายังต้องเผชิญต่อไปในอนาคต ทิศทางของระเบียบโลกกลางสงครามเย็นครั้งใหม่ในศตวรรษที่ 21 และที่ทางของการเมืองไทย-การต่างประเทศไทยในกระแสลมแห่งการเลือกตั้ง

ณรจญา ตัญจพัฒน์กุล

31 Jan 2023

Sustainability

1 Nov 2022

จากจุดทิ้งระเบิดในสงครามเย็นสู่ป่าสมบูรณ์ของชาวบ้านที่รัฐอยากรวมเป็นอุทยานแห่งชาติ

วันชัย ตันติวิทยาพิทักษ์ เขียนถึงป่าที่กุดหมากไฟ ซึ่งเคยเป็นจุดทิ้งระเบิด ชาวบ้านช่วยกันฟื้นฟูใหม่จนสมบูรณ์ แต่รัฐอยากรวมเป็นอุทยานแห่งชาติ

วันชัย ตันติวิทยาพิทักษ์

1 Nov 2022

World

18 Oct 2022

เมื่อสหายหิว: ความล้มเหลวทางอาหารในเยอรมนีตะวันออกก่อนรวมชาติ

มัธธาณะ รอดยิ้ม ชวนมองสภาพสังคมเยอรมนีตะวันออกก่อนรวมชาติ เมื่อรัฐบาลคอมมิวนิสต์ต้องเผชิญปัญหาขาดแคลนอาหาร

มัธธาณะ รอดยิ้ม

18 Oct 2022

Global Affairs

30 Aug 2022

‘ห้องครัว’ จากพื้นที่ครอบครัวสู่การขับเคี่ยวช่วงสงครามเย็น

มัธธาณะ รอดยิ้ม ชวนย้อนมองดีเบตเรื่องห้องครัวสมัยสงครามเย็น ระหว่าง ริชาร์ด นิกสัน กับ นิกิตา ครุสชอฟ ที่งัดข้อดีของครัวแบบตัวเองมาเพื่อยืนยันหลักการทางการเมือง

มัธธาณะ รอดยิ้ม

30 Aug 2022

World

18 Jul 2022

“เมื่อสหรัฐใช้ช็อคโกแลตเอาชนะโซเวียต” รำลึก 74 ปี Operation Vittles

ณัฐรินทร์ รัตนะพิบูลย์ เขียนถึง Operation Vittles ปฏิบัติการขนส่งกำลังบำรุงทางอากาศช่วงปิดล้อมกรุงเบอร์ลินในปี 1948-1949 ที่ทำให้สหภาพโซเวียตพ่ายแพ้ในเกมปากท้องอย่างย่อยยับด้วย ‘ช็อคโกแลต ขนม ลูกกวาด’

ณัฐรินทร์ รัตนะพิบูลย์

18 Jul 2022

World

31 May 2022

คอสโมนอตคนแรกแห่งอุษาคเนย์: โซเวียตกับการช่วยสร้างชาติเวียดนาม

เรื่องราวของ’ฟัม ต๋วน’ นักบินจากกองทัพอากาศเวียดนาม เป็นชาวเอเชียคนแรกที่ขึ้นสู่ห้วงอวกาศในฐานะ ‘คอสโมนอต’ ของสหภาพโซเวียต

มัธธาณะ รอดยิ้ม

31 May 2022
1 2

RECOMMENDED

Social Issues

17 Feb 2017

อ่านข่าวออนไลน์จากสำนักไหน ใครจำได้บ้าง

แน่นอน คนเราอ่านข่าวออนไลน์กันมากขึ้น แต่เราจำได้หรือเปล่าว่าข่าวไหนมาจากสำนักไหน ใครวิเคราะห์อะไรบ้าง ได้ตามข่าวไหนต่อเป็นพิเศษหรือเปล่า วิธีอ่านข่าวออนไลน์ของเราเป็นอย่างไร

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Social Issues

17 Feb 2017

น้ำแข็งขั้วโลกหดตัวต่ำสุดในประวัติศาสตร์ ไม่ใช่แค่ขั้วเดียว-แต่ทั้งสองขั้วเลย!

ขั้วโลกเหนือเป็นฤดูหนาว ขั้วโลกใต้เป็นฤดูร้อน แต่ที่เหมือนกันก็คือ ไม่ว่าจะหนาวจะร้อน ทั้งสองขั้วโลกต่างมีอาการ ‘น้ำแข็งหดตัว’ จนเกิดสถิติใหม่อย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อนด้วยกันทั้งคู่!

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Life & Culture

20 Feb 2017

พื้นที่สาธารณะ พื้นที่ของใครกันแน่?

ดัชนีชี้วัดความสุขประชากรในเมืองขึ้นอยู่กับอะไรบ้าง ห้างสวยแอร์เย็น รถไฟฟ้าไร้โฆษณา หรือจริงๆ มนุษย์เมืองล้วนต้องการพื้นที่สาธารณะที่เป็น ‘สาธารณะ’ จริงๆ

เทพพิทักษ์ มณีพงษ์

20 Feb 2017

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save