fbpx

วิธีอ่าน

13 Sep 2018

อ่านหาคำถาม “ยุทธศาสตร์การต่างประเทศและความมั่นคง” (เพื่อทำรายงาน)

ศุภมิตร ปิติพัฒน์ แนะเคล็ดการอ่าน 3 ข้อเพื่อฝึกตั้งคำถามที่ ‘ใช่’ ในโจทย์ด้านยุทธศาสตร์การต่างประเทศและความมั่นคง

ศุภมิตร ปิติพัฒน์

13 Sep 2018

วิธีอ่าน

27 Aug 2018

อ่านบันทึกความทรงจำ ของ ศาสตราจารย์เบเนดิกต์ แอนเดอร์สัน

ศุภมิตร ปิติพัฒน์ อ่าน ‘เบเนดิกต์ แอนเดอร์สัน’ ผ่านหนังสือบันทึกความทรงจำ A Life Beyond Boundaries พร้อมตั้งข้อสังเกตบุคลิก 3 ประการของงานวิชาการของ ‘ครูเบ็น’

ศุภมิตร ปิติพัฒน์

27 Aug 2018

Thai Politics

16 Aug 2018

ฝึกอ่านความหมายมาใช้เปิดประเด็น

ในวาระเปิดเทอมใหม่ ศุภมิตร ปิติพัฒน์ ชวนนักศึกษาฝึกอ่านความหมายของแนวคิดต่างๆ เพื่อนำมาใช้ประโยชน์ในการเขียนงานวิชาการ โดยยกการอ่านความสัมพันธ์เชิงอำนาจในวิชาพื้นฐานทางรัฐศาสตร์มาเป็นตัวอย่าง

ศุภมิตร ปิติพัฒน์

16 Aug 2018

วิธีอ่าน

13 Jul 2018

อ่านงานของ Robert Gilpin: ฐานอำนาจรัฐกับการเปลี่ยนแปลงอำนาจในการเมืองโลก

ศุภมิตร ปิติพัฒน์ อ่านการเมืองระหว่างประเทศตามแนวทาง political realism ของโรเบิร์ต กิลปิน เพื่อตอบคำถามว่าอะไรเป็นปัจจัยที่สำคัญที่สุดในการกำหนดอำนาจรัฐบนเวทีโลก

ศุภมิตร ปิติพัฒน์

13 Jul 2018

Global Affairs

15 Jun 2018

อ่านแนวทางการศึกษา IR จากความทรงจำ

ศุภมิตร ปิติพัฒน์ ถอดรหัสการศึกษา IR ของคณะรัฐศาสตร์ จุฬาฯ – อะไรคือหัวใจของการศึกษา IR ตามแนวทางประเพณีที่หยั่งรากลึกในเมืองไทยมากว่า 70 ปี

ศุภมิตร ปิติพัฒน์

15 Jun 2018

วิธีอ่าน

16 Mar 2018

อ่านทางนักทฤษฎี

ศุภมิตร ปิติพัฒน์ ชวนอ่านทางของนักทฤษฎีและนักปฏิบัติ ทั้งสองนักมองโลกต่างกันอย่างไร อ่านและวิเคราะห์ปัญหาด้วยวิธีแบบไหน และทำไมจึงมีแนวทางแก้ปัญหาต่างกัน

ศุภมิตร ปิติพัฒน์

16 Mar 2018

Thai Politics

16 Feb 2018

อ่านจากข่าว

ศุภมิตร ปิติพัฒน์ เปิดกระบวนท่าในการ “อ่านจากข่าว” เพื่อค้นหาฐานคิดที่ซ่อนอยู่ในข่าว ความเห็นของตัวละครในข่าวทำให้เราเห็นอะไรในสถานการณ์และเห็นสถานการณ์อย่างไร

ศุภมิตร ปิติพัฒน์

16 Feb 2018

Thai Politics

19 Jan 2018

อ่านให้ต่างออกไปได้อย่างไร?

เมื่อ ศุภมิตร ปิติพัฒน์ ได้รับโจทย์จาก สมบัติ จันทรวงศ์ ว่าให้ “อ่านการเมืองไทย” ให้ “แตกต่าง” จากฝ่ายกระแสวิพากษ์ เขามีวิธีการตอบโจทย์นั้นอย่างไร

ศุภมิตร ปิติพัฒน์

19 Jan 2018

Global Affairs

15 Dec 2017

อ่านสถานการณ์ยาก

ศุภมิตร ปิติพัฒน์ ชวนฝึก “อ่านสถานการณ์ยาก” หลากหลายรูปแบบ จากยากเพราะไม่รู้ ยากเพราะลำบากใจ ยากเพราะไม่ยอมรับความจริง ไปจนถึง ยากเพราะความซับซ้อนในสถานการณ์

ศุภมิตร ปิติพัฒน์

15 Dec 2017

Global Affairs

17 Nov 2017

อ่านหาเรื่อง

ศุภมิตร ปิติพัฒน์ ชวนทดลอง “อ่านหาเรื่อง” ไม่ใช่แบบตั้งใจมีเรื่องกับใคร แต่เป็นการอ่านหาเรื่องจากเอกสารชั้นต้นทางประวัติศาสตร์ แล้วเก็บประเด็นไปคิดต่อ โดยใช้บันทึกการพบปะหารือเจรจาความเมืองในปี พ.ศ. 2504 ระหว่างประธานเหมา กับสองผู้นำลาว เป็นแบบฝึกหัด

ศุภมิตร ปิติพัฒน์

17 Nov 2017

Thai Politics

11 Oct 2017

อ่านคำถามอาจารย์สุธาชัย ยิ้มประเสริฐ​ ถึงฝ่ายอนุรักษนิยม เรื่องระบอบกษัตริย์ใต้รัฐธรรมนูญ

ศุภมิตร ปิติพัฒน์ เขียนจดหมายถึง สุธาชัย แย้มประเสริฐ เพื่อสนทนาและคิดต่อจากคำถามสำคัญที่อาจารย์สุธาชัยเคยตั้งไว้ให้ฝ่ายอนุรักษนิยมตอบ คำถามนั้นคือเรื่องระบอบกษัตริย์ใต้รัฐธรรมนูญ

ศุภมิตร ปิติพัฒน์

11 Oct 2017

Thai Politics

14 Sep 2017

อ่านประวัติศาสตร์การเมืองไทยยุคใกล้

ศุภมิตร ปิติพัฒน์ ชวนอ่านการเมืองไทยตั้งแต่ยุครัฐประหาร 2490 ซึ่งเปลี่ยนระบอบการเมืองจากระบอบที่ผู้นำคณะราษฎรวางรากฐานไว้ พร้อมตั้งคำถามสำคัญว่า ทำไมสังคมการเมืองไทยจึงขาดพลังทางสังคมนอกระบบราชการที่จะต่อต้านรัฐประหาร และเป็นพลังที่จะรักษาประชาธิปไตยไว้อย่างได้ผล ปัญญาจากมงเตสกิเยอและต๊อกเกอะวิลล์ให้คำตอบอะไรกับการเมืองไทย

ศุภมิตร ปิติพัฒน์

14 Sep 2017

Global Affairs

18 Aug 2017

อ่านห้วงเวลาแบบคิสซินเจอร์

ศุภมิตร ปิติพัฒน์ ชวนอ่านห้วงเวลาแบบคิสซินเจอร์ (Kissingerian Moment) ห้วงเวลาที่เกิด
The Conservative Dilemma เมื่อสังคมการเมืองเกิดพลังก่อตัวขึ้นมาท้าทายและเรียกร้องการปฏิวัติเพื่อเปลี่ยนแปลงสังคมจากระบอบเดิม แต่ฝ่ายอนุรักษนิยมแทบไม่มีทางเลือกในการกลับคืนสู่เวลาของเสถียรภาพและความสงบเรียบร้อยเป็นปกติธรรมดา แล้วทางออกอยู่ตรงไหน?

ศุภมิตร ปิติพัฒน์

18 Aug 2017
1 3 4 5

RECOMMENDED

Social Issues

17 Feb 2017

อ่านข่าวออนไลน์จากสำนักไหน ใครจำได้บ้าง

แน่นอน คนเราอ่านข่าวออนไลน์กันมากขึ้น แต่เราจำได้หรือเปล่าว่าข่าวไหนมาจากสำนักไหน ใครวิเคราะห์อะไรบ้าง ได้ตามข่าวไหนต่อเป็นพิเศษหรือเปล่า วิธีอ่านข่าวออนไลน์ของเราเป็นอย่างไร

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Social Issues

17 Feb 2017

น้ำแข็งขั้วโลกหดตัวต่ำสุดในประวัติศาสตร์ ไม่ใช่แค่ขั้วเดียว-แต่ทั้งสองขั้วเลย!

ขั้วโลกเหนือเป็นฤดูหนาว ขั้วโลกใต้เป็นฤดูร้อน แต่ที่เหมือนกันก็คือ ไม่ว่าจะหนาวจะร้อน ทั้งสองขั้วโลกต่างมีอาการ ‘น้ำแข็งหดตัว’ จนเกิดสถิติใหม่อย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อนด้วยกันทั้งคู่!

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Life & Culture

20 Feb 2017

พื้นที่สาธารณะ พื้นที่ของใครกันแน่?

ดัชนีชี้วัดความสุขประชากรในเมืองขึ้นอยู่กับอะไรบ้าง ห้างสวยแอร์เย็น รถไฟฟ้าไร้โฆษณา หรือจริงๆ มนุษย์เมืองล้วนต้องการพื้นที่สาธารณะที่เป็น ‘สาธารณะ’ จริงๆ

เทพพิทักษ์ มณีพงษ์

20 Feb 2017

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save