fbpx

Global Affairs

11 Sep 2020

อ่านภาษาการต่างประเทศ

ศุภมิตร ปิติพัฒน์ ชวนอ่านการใช้ภาษาในการต่างประเทศ ซึ่งเป็นเครื่องมือสำคัญในการกำหนดบรรยากาศและตรรกะวิธีคิดในเจรจาทางการทูต การกำหนดนโยบายต่างประเทศ และยุทธศาสตร์ความมั่นคง

ศุภมิตร ปิติพัฒน์

11 Sep 2020

Thai Politics

10 Jul 2020

วูดโรว์ วิลสันกับความโหดร้ายของประวัติศาสตร์

ศุภมิตร ปิติพัฒน์เขียนถึงกรณีการปลดชื่อประธานาธิบดี ‘วูดโรว์ วิลสัน’ ออกจาก ‘Woodrow Wilson School of Public and International Affairs’ เพื่อตั้งคำถามว่า เราควรกลับไปแก้ ‘ประวัติศาสตร์สีดำ’ ให้ถูกต้องกับคุณค่าปัจจุบัน หรือ เปิดรับสิ่งเลวร้ายที่เกิดขึ้นไว้เป็นความทรงจำร่วมกันของสังคม

ศุภมิตร ปิติพัฒน์

10 Jul 2020

Thai Politics

11 Jun 2020

ชวนอ่านแนววิเคราะห์รัฐและทุนนิยมไทยในงานของ ไกรศักดิ์ ชุณหะวัณ

ศุภมิตร ปิติพัฒน์ ชวนอ่านแนววิเคราะห์ รัฐและทุนนิยมไทยในงานของ ไกรศักดิ์ ชุณหะวัณ อีกครั้ง ทั้งในฐานะ ‘ปฏิบัติการทางปัญญา’ แห่งยุคสมัย และในฐานะบทวิเคราะห์เศรษฐกิจการเมืองไทย ซึ่งพลิกผันปั่นป่วนอย่างต่อเนื่องนับตั้งแต่หลายทศวรรษก่อนจนถึงปัจจุบัน

ศุภมิตร ปิติพัฒน์

11 Jun 2020

Global Affairs

14 Apr 2020

รัฐวิเคราะห์ในการศึกษานโยบายต่างประเทศ

ศุภมิตร ปิติพัฒน์ เขียนถึงทฤษฎีรัฐวิเคราะห์ในทฤษฎีการเมืองระหว่างประเทศ จากข้อจำกัดของทฤษฎีแบบดั้งเดิม ไปจนถึงแว่นตาของนักวิชาการปัญญาชนฝ่ายซ้ายที่เผยให้เห็นถึงความซับซ้อนที่ซ่อนอยู่ภายใต้อำนาจรัฐและกลไกอำนาจรัฐ

ศุภมิตร ปิติพัฒน์

14 Apr 2020

Global Affairs

16 Mar 2020

ย้อนทางอ่าน ทางอ่านย้อน

ศุภมิตร ปิติพัฒน์ เสนอวิธี ‘อ่านย้อนรอย’ จากงาน Common Sense ของ โธมัส เพน เพื่อชวนคิดถึงพลวัตและกระบวนการทางประวัติศาสตร์ของ ‘ฝ่ายก้าวหน้า’ และปัญหาการเปลี่ยนผ่านสู่ระบอบใหม่

ศุภมิตร ปิติพัฒน์

16 Mar 2020

Thai Politics

17 Jan 2020

จุดตั้งต้นการปกครองระบอบพระมหากษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญของไทย (ตอนจบ)

ศุภมิตร ปิติพัฒน์ เปิดรายงานวิจัยตอนที่ 6 ว่าด้วยเอกสารพระราชหัตถเลขาสละราชสมบัติของรัชกาลที่ 7 และการประสานความไม่ลงรอยในรัฐธรรมนูญ 2489

ศุภมิตร ปิติพัฒน์

17 Jan 2020

Thai Politics

10 Jan 2020

จุดตั้งต้นการปกครองระบอบพระมหากษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญของไทย (5)

ศุภมิตร ปิติพัฒน์ เปิดรายงานวิจัยตอนที่ 5 ว่าด้วยคณะราษฎรกับการจำกัดอำนาจกษัตริย์ไว้ใต้รัฐธรรมนูญ

ศุภมิตร ปิติพัฒน์

10 Jan 2020

Thai Politics

3 Jan 2020

จุดตั้งต้นการปกครองระบอบพระมหากษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญของไทย (4)

ศุภมิตร ปิติพัฒน์ เปิดรายงานวิจัยตอนที่ 4 เรื่องข้อเสนอของฟรานซิส บี แซร์และแนวคิดต้นแบบของรัฐธรรมนูญฝ่ายอนุรักษนิยม

ศุภมิตร ปิติพัฒน์

3 Jan 2020

Thai Politics

20 Dec 2019

จุดตั้งต้นการปกครองระบอบพระมหากษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญของไทย (2)

ศุภมิตร ปิติพัฒน์ เปิดรายงานวิจัยตอนที่ 2 ว่าด้วยการตั้งต้นระบอบพระมหากษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญใหม่อีกครั้งหนึ่งในปี 2489 อันเกิดจากบทบาทของปรีดี พนมยงค์

ศุภมิตร ปิติพัฒน์

20 Dec 2019

Thai Politics

13 Dec 2019

จุดตั้งต้นการปกครองระบอบพระมหากษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญของไทย (1)

ศุภมิตร ปิติพัฒน์ เปิดรายงานวิจัยชิ้นใหม่ ‘พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 9 กับแนวคิดและเงื่อนไขทางการเมืองในการฟื้นฟูสถานะของสถาบันพระมหากษัตริย์ภายหลังเปลี่ยนแปลงการปกครอง 2475’ ในรูปแบบบทความชุดความยาว 6 ตอนจบ

ศุภมิตร ปิติพัฒน์

13 Dec 2019

Thai Politics

15 Nov 2019

อ่านหนังสือเจ้าสัว

ศุภมิตร ปิติพัฒน์อ่านหนังสือ ‘ความสำเร็จดีใจได้วันเดียว’ ของธนินท์ เจียรวนนท์ และชวนให้คิดถึงแนวคิดเชิงทฤษฎีอันหลายหลากและฉากต่อไปของทุนนิยม(ไทย)

ศุภมิตร ปิติพัฒน์

15 Nov 2019

Thai Politics

18 Oct 2019

การเตรียมพระองค์ของ ‘เจ้านายเล็กๆ-ยุวกษัตริย์’ ตามแนวทางการอบรมของสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี

ศุภมิตร ปิติพัฒน์ นำส่วนหนึ่งจากงานวิจัยมาเผยแพร่ถึงเรื่องการเตรียมพระองค์ในขั้นต้นของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 8 และรัชกาลที่ 9 ตามแนวทางการอบรมของสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี

ศุภมิตร ปิติพัฒน์

18 Oct 2019

Thai Politics

13 Sep 2019

อ่านงานพระนิพนธ์และความคิดทางการเมืองการปกครอง ของพระวรวงศ์เธอ กรมหมื่นพิทยลาภพฤฒิยากร

ศุภมิตร ปิติพัฒน์ อ่านพระนิพนธ์ของ พระวรวงศ์เธอ กรมหมื่นพิทยลาภพฤฒิยากร เพื่อพิจารณาความคิดทางการเมืองการปกครองที่เกี่ยวข้องกับสถาบันพระมหากษัตริย์

ศุภมิตร ปิติพัฒน์

13 Sep 2019

Thai Politics

16 Aug 2019

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ กับการศึกษารัฐศาสตร์เมืองไทย และเทวดาแห่งประวัติศาสตร์

ในวาระ 72 ปี ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ ศุภมิตร ปิติพัฒน์ ชวนอ่านบทความ ‘วิเคราะห์การศึกษารัฐศาสตร์ในเมืองไทย’ ของธเนศสมัยเป็นนักศึกษา ซึ่งช่วยให้เรามองเห็นแนวทางสร้างความรู้ทางวิชาการตลอด 50 ปีของศาสตราจารย์ประวัติศาสตร์ผู้นี้

ศุภมิตร ปิติพัฒน์

16 Aug 2019
1 2 3 4

RECOMMENDED

Social Issues

17 Feb 2017

อ่านข่าวออนไลน์จากสำนักไหน ใครจำได้บ้าง

แน่นอน คนเราอ่านข่าวออนไลน์กันมากขึ้น แต่เราจำได้หรือเปล่าว่าข่าวไหนมาจากสำนักไหน ใครวิเคราะห์อะไรบ้าง ได้ตามข่าวไหนต่อเป็นพิเศษหรือเปล่า วิธีอ่านข่าวออนไลน์ของเราเป็นอย่างไร

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Social Issues

17 Feb 2017

น้ำแข็งขั้วโลกหดตัวต่ำสุดในประวัติศาสตร์ ไม่ใช่แค่ขั้วเดียว-แต่ทั้งสองขั้วเลย!

ขั้วโลกเหนือเป็นฤดูหนาว ขั้วโลกใต้เป็นฤดูร้อน แต่ที่เหมือนกันก็คือ ไม่ว่าจะหนาวจะร้อน ทั้งสองขั้วโลกต่างมีอาการ ‘น้ำแข็งหดตัว’ จนเกิดสถิติใหม่อย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อนด้วยกันทั้งคู่!

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Life & Culture

20 Feb 2017

พื้นที่สาธารณะ พื้นที่ของใครกันแน่?

ดัชนีชี้วัดความสุขประชากรในเมืองขึ้นอยู่กับอะไรบ้าง ห้างสวยแอร์เย็น รถไฟฟ้าไร้โฆษณา หรือจริงๆ มนุษย์เมืองล้วนต้องการพื้นที่สาธารณะที่เป็น ‘สาธารณะ’ จริงๆ

เทพพิทักษ์ มณีพงษ์

20 Feb 2017

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save