fbpx

Democracy

21 Sep 2020

จากรัฐประหาร 49 ถึง ทวงคืนอำนาจราษฎร 63 : ความหลังสู่ความหวัง 19 กันยา

101 พูดคุยกับผู้ร่วมชุมนุม ‘ทวงคืนอำนาจราษฎร’ ถึงชีวิต ความคิดความอ่านบนเส้นทาง 14 ปีการเมืองไทยจากรัฐประหาร 19 กันยา 2549 สู่การประท้วง 19 กันยา 2563 ว่าผันแปรเปลี่ยนไปอย่างไรบ้าง

กองบรรณาธิการ

21 Sep 2020

Thai Politics

1 Sep 2020

The Bottom Blue_s

ธนาวิ โชติประดิษฐ เขียนถึงการสาดสีใส่เจ้าหน้าที่ตำรวจของแอมมี่ The Bottom Blues และข้อถกเถียงที่ว่า เป็นการแสดงออกที่รุนแรงเกินไปไหม และถือเป็นงานศิลปะหรือไม่

ธนาวิ โชติประดิษฐ

1 Sep 2020

Third Eye View

21 Aug 2020

The Truth Booth : พื้นที่ปลอดภัยสำหรับใครที่พร้อมพูด ‘ความจริง’

Eyedropper Fill พาไปรู้จัก The Truth Booth ห้องเป่าลมรูปทรงบับเบิ้ลคำพูด แปะป้ายคำว่า ‘TRUTH’ ในภาษาต่างๆ ที่กลุ่ม CAUSE COLLECTIVE พาเดินทางไปทั่วโลกเพื่อตามหาความจริงในสังคมและวัฒนธรรมที่แตกต่าง

อายดรอปเปอร์ ฟิลล์

21 Aug 2020

Media

6 Aug 2020

Innerscape Ep.6 เป็นครูศิลปะแบบไหนที่ไม่ทำให้เด็ก ‘กลัว’ ศิลปะ

Innerscape ศิลปะบนผืนใจ ตอนใหม่ ชวนคุยเรื่อง ‘ครูศิลปะ’ ผู้เชื่อมโยงระหว่างเด็กและศิลปะ ตัวแปรสำคัญที่อาจกำหนดว่า ศิลปะจะถูกระบายไปถึงผืนใจของเด็กหรือไม่

ศุภาวรรณ คงสุวรรณ์

6 Aug 2020

Life & Culture

6 Aug 2020

วิญญาณในภาพถ่าย

ธนาวิ โชติประดิษฐ เขียนถึงนิทรรศการภาพถ่าย For Those Who Died Trying (And Those Who Endure) ของลุค ดักเกิลบี ที่ปลุกตัวตนของผู้เสียชีวิตหรือสูญหายจากการต่อสู้เพื่อสิทธิมนุษยชนให้กลับมาสู่ความทรงจำและสายตาของสังคมอีกครั้ง

ธนาวิ โชติประดิษฐ

6 Aug 2020

Art & Design

11 Jun 2020

บางแสงสว่างมองเห็นไม่ได้ด้วยตาเนื้อ

ธนาวิ โชติประดิษฐ เขียนถึงสิ่งที่ ‘เห็น’ ด้วยตาเนื้อและด้วยมุมมองทางความคิดจากคอนเสิร์ตของโบเชลลี นักร้องโอเปราผู้พิการทางสายตา

ธนาวิ โชติประดิษฐ

11 Jun 2020

Innerscape

27 May 2020

Innerscape Ep.5 “ผู้ใหญ่คือสีที่อยู่รอบตัวเด็ก”

ศิลปะบนผืนใจตอนใหม่ สนทนาถึงวิธีที่เด็กมองเห็นสี และรับเอาสีเข้ามาสู่ภายใน รวมไปถึงสภาวะของผู้ใหญ่ ในฐานะสีแสนสำคัญที่ล้อมรอบตัวเด็กทุกวัน

ศุภาวรรณ คงสุวรรณ์

27 May 2020

Lifestyle

28 Apr 2020

‘ทำเรื่องเล่นให้จริงจัง’ : ความสร้างสรรค์ของไต้หวันยุคใหม่

ธีรภัทร เจริญสุข เขียนถึง ‘ความสร้างสรรค์’ ของไต้หวัน ไล่เรียงตั้งแต่ชานมไข่มุก การ์ตูนลายเส้นแบบไต้หวัน และ ส.ส. สวมคอสเพลย์บนเวทีหาเสียง

ธีรภัทร เจริญสุข

28 Apr 2020

Innerscape

8 Apr 2020

Innerscape Ep.4 “ห้องสำหรับเด็ก ระบายสีอะไรดี?”

Innerscpae ตอนใหม่ สนทนากันถึงความสำคัญของการเชิญสีและแสงมาห้อมล้อมบรรยากาศรอบตัว และพาไปรู้จักกับเทคนิคการลงสีแบบ ‘Lazure’ หรือการระบายสีโปร่งแสงซ้อนทับกัน ตามแนวคิดของศาสตร์มนุษยปรัชญา

ศุภาวรรณ คงสุวรรณ์

8 Apr 2020

Art & Design

3 Apr 2020

Take a Deeper Read

ธนาวิ โชติประดิษฐ ชวนคุยเรื่องโรคระบาดในงานศิลปะของนิโกลาส์ ปูแซ็ง จิตรกรชาวฝรั่งเศส ผ่านการเขียนจดหมายเปิดผนึกถึงเพื่อนสนิทในวันที่โควิด-19 คุกคามคนทั้งโลก

ธนาวิ โชติประดิษฐ

3 Apr 2020

Education

17 Mar 2020

ศิลปะในอนุบาล สร้างความงามให้ปรากฏในตัวเด็ก ‘แม่อุ้ย’ อภิสิรี จรัลชวนะเพท ผู้ก่อตั้งอนุบาลบ้านรัก

ศุภาวรรณ คงสุวรรณ์ คุยกับ ‘แม่อุ้ย’ อภิสิรี จรัลชวนะเพท ผู้ก่อตั้งอนุบาลบ้านรัก และผู้เชี่ยวชาญการศึกษาวอลดอร์ฟ ว่าด้วยการใช้ศิลปะสร้างความพร้อมทางกายและจิตวิญญาณให้กับเด็กอนุบาล

ศุภาวรรณ คงสุวรรณ์

17 Mar 2020

Innerscape

5 Mar 2020

Innerscape Ep.3 “เด็กชอบระบายแต่สีดำ จะเป็นอะไรไหม?”

Innerscape ตอนใหม่ จะพาคุณผู้ฟังไปรู้จักกับสีในมุมมองแบบ ‘ภววิสัย’ (objectivity) ลองมองสีจากรูปลักษณ์ รูปร่าง และธรรมชาติที่เป็นของสีเอง แหวกว่ายในจักรวาลสีสันที่อยู่รอบตัว เชื่อมโยงกับวันคืน และผันเปลี่ยนตามฤดูกาล

ศุภาวรรณ คงสุวรรณ์

5 Mar 2020

Innerscape

13 Feb 2020

Innerscape Ep. 2 “ทำไมเด็ก ‘ต้อง’ ระบายสีออกนอกกรอบ”

Innerscape ตอนใหม่ ชวนมองภาพใหม่และความหมายแท้จริงของการ ‘ระบายสี’ (Paiting) ที่เหมาะกับเด็กเล็ก ที่อาจเป็นตัวช่วยสร้างความสมดุล และปลดความคิดของเด็กออกจากกรอบทั้งปวง

ศุภาวรรณ คงสุวรรณ์

13 Feb 2020

Art & Design

24 Jan 2020

นิทรรศการศิลปะและชีวิตของ William Blake – Rebel, Radical, Revolutionary

สุนันทา วรรณสินธ์ เบล พาเดินชมนิทรรศการ สำรวจชีวิตของ วิลเลียม เบลก กวีและศิลปินผู้ต่อสู้เพื่อศิลปะที่ ‘ไม่เหมือนใคร’

สุนันทา วรรณสินธ์ เบล

24 Jan 2020
1 2 3 4

RECOMMENDED

Social Issues

17 Feb 2017

อ่านข่าวออนไลน์จากสำนักไหน ใครจำได้บ้าง

แน่นอน คนเราอ่านข่าวออนไลน์กันมากขึ้น แต่เราจำได้หรือเปล่าว่าข่าวไหนมาจากสำนักไหน ใครวิเคราะห์อะไรบ้าง ได้ตามข่าวไหนต่อเป็นพิเศษหรือเปล่า วิธีอ่านข่าวออนไลน์ของเราเป็นอย่างไร

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Social Issues

17 Feb 2017

น้ำแข็งขั้วโลกหดตัวต่ำสุดในประวัติศาสตร์ ไม่ใช่แค่ขั้วเดียว-แต่ทั้งสองขั้วเลย!

ขั้วโลกเหนือเป็นฤดูหนาว ขั้วโลกใต้เป็นฤดูร้อน แต่ที่เหมือนกันก็คือ ไม่ว่าจะหนาวจะร้อน ทั้งสองขั้วโลกต่างมีอาการ ‘น้ำแข็งหดตัว’ จนเกิดสถิติใหม่อย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อนด้วยกันทั้งคู่!

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Life & Culture

20 Feb 2017

พื้นที่สาธารณะ พื้นที่ของใครกันแน่?

ดัชนีชี้วัดความสุขประชากรในเมืองขึ้นอยู่กับอะไรบ้าง ห้างสวยแอร์เย็น รถไฟฟ้าไร้โฆษณา หรือจริงๆ มนุษย์เมืองล้วนต้องการพื้นที่สาธารณะที่เป็น ‘สาธารณะ’ จริงๆ

เทพพิทักษ์ มณีพงษ์

20 Feb 2017

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save