ส่วนขยายของ “ข้อเสนออาวองต์-การ์ด”: จากกีต้า คาปัวร์สู่ศิลปะและการประท้วงในไทย
ธนาวิ โชติประดิษฐ ชวนมาทบทวน ความเป็น “อาวองต์-การ์ด” ของผลงานศิลปะที่ปรากฏในชุมนุมทางการเมือง เพื่อทำหน้าที่วิพากษ์ ต่อสู้ และท้าทายอำนาจนำในสังคม

ธนาวิ โชติประดิษฐ ชวนมาทบทวน ความเป็น “อาวองต์-การ์ด” ของผลงานศิลปะที่ปรากฏในชุมนุมทางการเมือง เพื่อทำหน้าที่วิพากษ์ ต่อสู้ และท้าทายอำนาจนำในสังคม
ธนาวิ โชติประดิษฐ เขียนถึงความสำคัญของการชมศิลปะ คนทำงานศิลปะ และพิพิธภัณฑ์ศิลปะในฐานะเครื่องวัดคุณภาพชีวิตและการบริหารจัดการภาษีของประชาชนโดยรัฐ
Eyedropper Fill พาไปรู้จัก Listening NYC แคมเปญที่ใช้ ‘การคิดเชิงออกแบบ’ เข้าไปร่วมปรับปรุงการทำงานของตำรวจในนิวยอร์ก ทำให้ผู้คนในสังคมมีส่วนร่วมในการปฏิรูปวงการตำรวจ
101 สนทนากับ ถิง ชู นักวาดภาพประกอบและเจ้าของ Ting Chu Studio ทั้งในบทบาทของความเป็นถิง ชู รวมไปถึงบทบาทของความเป็นศิลปินที่วิเคราะห์และวิพากษ์โลกของศิลปะ
คุยกับ เพ็ญสุภา สุขคตะ นักประวัติศาสตร์ศิลปะ ว่าด้วยอัตลักษณ์ในการประท้วงของคนภาคเหนือ ที่ใช้ทั้งภาษา ตัวอักษร และข้าวของในวัฒนธรรมประเพณีล้านนามาแสดงออกทางการเมือง
ธนาวิ โชติประดิษฐ เขียนถึงนิทรรศการภาพถ่าย For Those Who Died Trying (And Those Who Endure) ของลุค ดักเกิลบี ที่ปลุกตัวตนของผู้เสียชีวิตหรือสูญหายจากการต่อสู้เพื่อสิทธิมนุษยชนให้กลับมาสู่ความทรงจำและสายตาของสังคมอีกครั้ง
ศิลปะแห่งการช่วงชิงความทรงจำ (ทางการเมือง) กับ ธนาวิ โชติประดิษฐ จากหมุดคณะราษฎร ถึงหมุดหน้าใส จากพระบรมรูปทรงม้า ถึงอนุสาวรีย์ประชาธิปไตย เมื่อศิลปะถูกนำมาใช้ในการช่วงชิง-รื้อสร้าง ความทรงจำทางการเมือง
รายการ 101 one-on-one Ep.78 อ่านประวัติศาสตร์ผ่านศิลปะและวัตถุทางการเมือง จากหมุดคณะราษฎรถึงหมุดหน้าใส จากพระบรมรูปทรงม้าถึงอนุสาวรีย์ประชาธิปไตย เมื่อศิลปะถูกนำมาใช้ในการช่วงชิง-รื้อสร้าง ความทรงจำ
พันธวัฒน์ เศรษฐวิไล ล้อมวงคุยกับ 4 ศิลปินรุ่นใหม่ มองการเมืองไทยหลังเลือกตั้ง 2562
ที่อยู่ที่ยืนของแวดวงศิลปวัฒนธรรมไทยกำลังถูกจับตามองเป็นพิเศษ เมื่อศิลปินไทยเลือกยืนตรงข้ามกับเผด็จการ พวกเขาคิดอ่านและมองเห็นความท้าทายอะไรในการยืนยันสิทธิเสรีภาพ
คุยกับ ดร.ภาสกร อินทุมาร ว่าด้วยละครการเมือง แวดวงละครเวทีของไทยเป็นอย่างไร ละครทำหน้าที่อะไรต่อสังคมได้บ้าง การประสาน ‘ศิลปะ’ กับ ‘การเมือง’ ในยุคที่ไม่สามารถพูดอะไรออกไปตรงๆ เป็นแบบไหน ทำอย่างไรที่จะสะท้อนมุมมองต่อการเมืองผ่านละครอย่างมีชั้นเชิง
สำหรับพม่า ศิลปะคือการเมือง ลลิตา หาญวงษ์ สำรวจศิลปะในการเมืองพม่า และการเมืองในศิลปะพม่า ผ่านผลงานของศิลปินเพลงฮิปฮอป ศิลปินตลก และศิลปินนักวาดภาพมือฉมัง ผู้ยอมแลกอิสรภาพเพื่อสิทธิเสรีภาพและประชาธิปไตย
ประเด็นการเมืองกับการสื่อสารให้ดูดีฟังดูเป็นคนละเรื่อง แต่อีกนัยก็เป็นเรื่องเดียวกันที่แยกกันไม่ออก ลองมาฟังแนวคิดของอดีตเด็กบัญชีที่กลายมาเป็นนักสื่อสารทางการเมืองมากฝีมือผู้น่าจับตามองอย่าง ปราบ เลาหะโรจนพันธ์ ว่าสองสิ่งนี้สำคัญและเป็น ‘ศิลปะ’ อย่างไร
101 ชวน ธนาวิ โชติประดิษฐ มานั่งคุยเรื่องศิลปะร่วมสมัยกับการเมืองไทย พร้อมวิเคราะห์-วิพากษ์เรื่องหมุดเจ้าปัญหา
ระบบ Recommend จะคัดสรรบทความและสื่อสร้างสรรค์ต่างๆ ที่คุณสนใจ มาให้คุณเลือกในหน้าโปรไฟล์ส่วนตัวของคุณ ให้คุณไม่พลาดทุกเนื้อหาที่คัดมาสำหรับคุณโดยเฉพาะ
คุณสามารถบันทึกบทความแบบ Read Later โดยคลิกที่ปุ่ม Bookmark Icon หรือจะเก็บบทความที่ชื่นชอบเป็นการส่วนตัวไว้ในหมวด Favorite โดยคลิกที่ปุ่ม Favorite Icon เพื่อกลับมาอ่านในภายหลัง
เพียงคุณลงชื่อเข้าใช้ ระบบจะจดจำตัวเลือกฟอนต์และธีมสีที่คุณเคยเลือก ให้คุณอ่านและรับชมทุกเนื้อหาอย่างเต็มที่ สบายตาและเพลิดเพลินใจในแบบที่เหมาะกับคุณ ไม่ว่าจะใช้งานบนคอมพิวเตอร์ แท็บเล็ต หรือสมาร์ตโฟน
เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า