พลังแห่งเหตุผลของคำพิพากษาในคดีการเมืองไทย
ต่อพงศ์ กิตติยานุพงศ์ ชี้ชวนให้เห็นถึงปัญหาเรื่องพลังแห่งเหตุผลในการทำคำพิพากษาของศาล โดยเฉพาะในคดีการเมืองที่กระทบต่อผลประโยชน์และความรู้สึกของประชาชน

ต่อพงศ์ กิตติยานุพงศ์ ชี้ชวนให้เห็นถึงปัญหาเรื่องพลังแห่งเหตุผลในการทำคำพิพากษาของศาล โดยเฉพาะในคดีการเมืองที่กระทบต่อผลประโยชน์และความรู้สึกของประชาชน
ธนันท์ ชาลดารีพันธ์ ชวนลองตีความมาตรา 158 เรื่องวาระดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี 8 ปี
มุนินทร์ พงศาปาน ชวนพิจารณาการดำรงอยู่ของศาลรัฐธรรมนูญไทย โดยเฉพาะบทบาทในการปกป้องคุณค่าประชาธิปไตยและสิทธิเสรีภาพขั้นพื้นฐานของประชาชน
101 สนทนากับ ผศ.สุทธิชัย งามชื่นสุวรรณ ถึงผลกระทบจากคำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญในคดีล้มล้างการปกครองและคดีสมรสเท่าเทียม บทบาทหน้าที่ของศาลรัฐธรรมนูญ และการเรียนการสอนนิติศาสตร์ไทย
Gender Studies and Justice ในประเทศไทย จัดงานเสวนาหัวข้อ ‘ชำแหละคำพิพากษาศาลรัฐธรรมนูญ : สมรส(ไม่)เท่าเทียม= ตรรกะวิบัติ…หรือไม่?’ เพื่อตั้งคำถามต่อระบบตรรกะและการใช้เหตุผลต่อคำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญ ร่วมเสวนาโดย รศ.ดร.ชลิดาภรณ์ ส่งสัมพันธ์, รศ. สมชาย ปรีชาศิลปกุล, พ.ต.ท.พญ. ลักขณา จักกะพาก, ดร. อันธิฌา แสงชัย
101 สนทนากับธงชัย วินิจจะกูล, โกมาตร จึงเสถียรทรัพย์, ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ์ และสฤณี อาชวานันทกุล ร่วมจินตนาการออกแบบระบบยุติธรรมใหม่ เพื่อสร้างสังคมไทยแห่งอนาคตที่หลักนิติธรรมทำงานเสมอหน้ากัน
101 สนทนากับ อภินพ อติพิบูลย์สิน มองกระแสคำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญกรณีสมรสเท่าเทียม
อติเทพ ไชยสิทธิ์ เขียนถึงเบื้องหลังคำขวัญสาธารณรัฐฝรั่งเศสที่คณะตุลาการศาลรัฐธรรมนูญนำมาอ้างถึงหลักการประชาธิปไตย
มุนินทร์ พงศาปาน ชวนมองคำตัดสินของศาลรัฐธรรมนูญในคดีล้มล้างการปกครองและคดีสมรสเท่าเทียม เมื่อคุณค่าทางจารีตประเพณีขัดแย้งกับเหตุผลธรรมชาติ
101 ชวนอ่านคำวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญครั้งนี้ ผ่านสายตาสามนักกฎหมาย คือ สมชาย ปรีชาศิลปกุล, ต่อพงศ์ กิตติยานุพงศ์ และเข็มทอง ต้นสกุลรุ่งเรือง เมื่อเกิดคำถามจำนวนมากถึงเรื่องอำนาจอธิปไตย ขอบเขตการใช้สิทธิเสรีภาพ จนถึงผลกระทบที่อาจตามมา
โครงการรัฐธรรมนูญสนทนาชวนอ่านคำวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญไทย และผลกระทบต่อตำแหน่งแห่งที่ของสถาบันกษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญ รวมไปถึงการจัดวางโครงสร้างอำนาจทางการเมืองไทยในภาพใหญ่
คุยข่าวนอกสคริปต์ กับ วิสุทธิ์ คมวัชรพงศ์ EP.9 การเมืองไทยหลังคำตัดสินศาลรัฐธรรมนูญ
เข็มทอง ต้นสกุลรุ่งเรือง เขียนถึงปรากฏการณ์ ‘นักร้อง’ ที่ใช้กฎหมายเป็นเครื่องมือส่งเสริมความคิดฟากตนเอง อันเป็นผลพวงมาจากตุลาการภิวัตน์
101 ชวนมองข้อเสนอการออกแบบศาลรัฐธรรมนูญจาก สมชาย ปรีชาศิลปกุล และมุมมองจากหลากนักกฎหมายมหาชน
ต่อพงศ์ กิตติยานุพงศ์ ชวนมองประเด็นที่ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยให้มติที่ประชุมใหญ่ศาลปกครองสูงสุดขัดรัฐธรรมนูญ จนเกิดกระแสวิพากษ์วิจารณ์ถึงการขยายอำนาจของศาลรัฐธรรมนูญ
ระบบ Recommend จะคัดสรรบทความและสื่อสร้างสรรค์ต่างๆ ที่คุณสนใจ มาให้คุณเลือกในหน้าโปรไฟล์ส่วนตัวของคุณ ให้คุณไม่พลาดทุกเนื้อหาที่คัดมาสำหรับคุณโดยเฉพาะ
คุณสามารถบันทึกบทความแบบ Read Later โดยคลิกที่ปุ่ม Bookmark Icon หรือจะเก็บบทความที่ชื่นชอบเป็นการส่วนตัวไว้ในหมวด Favorite โดยคลิกที่ปุ่ม Favorite Icon เพื่อกลับมาอ่านในภายหลัง
เพียงคุณลงชื่อเข้าใช้ ระบบจะจดจำตัวเลือกฟอนต์และธีมสีที่คุณเคยเลือก ให้คุณอ่านและรับชมทุกเนื้อหาอย่างเต็มที่ สบายตาและเพลิดเพลินใจในแบบที่เหมาะกับคุณ ไม่ว่าจะใช้งานบนคอมพิวเตอร์ แท็บเล็ต หรือสมาร์ตโฟน
เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า